ผู้แต่ง : คณะวิชาการ The Justice Group
ปีที่พิมพ์ : สิงหาคม 2565
จำนวนหน้า: 316 หน้า (T)
ขนาด : A5
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786162605369
คำนำ
หนังสือประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ (ฉบับแก้ไข
เพิ่มเติมใหม่ล่าสุด พ.ศ. ๒๕๖๖) มีรายละเอียดแห่งการแก้ไขเพิ่มเติม
ดังนี้
๑. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน
(ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ มีการแก้ไขจำนวน ๓ มาตรา ได้แก่ มาตรา ๑
บทนิยามคำว่า "คณะกรรมการ" มาตรา ๑๔ และมาตรา ๒0 โดย
ประกาศราชกิจจานุเบกษาเล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๙ ก หน้า ๕๘ วันที่ ๑๔
เมษายน ๒๕๖๒
๒. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน
(ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๖๒ มีการแก้ไขในมาตรา ๑0๔ เกี่ยวกับการขอ
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในกรณีโอนสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง
ในที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ และยกเลิกมาตรา ๑0๕ มาตรา ๑0๕ ทวิ
มาตรา ๑๑๕ ตรี มาตรา ๑*๕ จัตวา มาตรา ๑0๕ เบญจ มาตรา ๑0๕ ฉ
มาตรา ๑0๕ สัตต และมาตรา ๑0๕ อัฏฐ โดยประกาศราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก หน้า ๓๒ วันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒
ในการจัดพิมพ์ครั้งนี้คณะผู้จัดทำยังได้เพิ่มพระราชบัญญัติ
คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งเป็นกฎหมายที่มี
การบัญญัติขึ้นใหม่เพื่อให้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติเป็น
ผู้ทำหน้าที่กำหนดนโยบายและแผนการจัดการที่ดินและทรัพยากรที่ดิน
ของประเทศ ทำให้การทำการมีเอกภาพและมีกรอบแนวทางการพัฒนา
การปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
คณะผู้จัดทำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าประมวลกฎหมายที่ดิน
เล่มนี้จะทำให้ผู้ศึกษาประมวลกฎหมายที่ดินนำไปใช้ได้อย่างคุ้มค่า
คณะวิชาการ
The Justice Group
สารบัญ
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗.
หมวด บทเบ็ดเสร็จทั่วไป.
หมวด ๒ การจัดที่ดินเพื่อประชาชน.
หมวด ๓ การกำหนดสิทธิในที่ดิน.
หมวด ๔ การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
หมวด ๕ การรังวัดที่ดิน.
หมวด ๖ การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
หมวด ๗ การกำหนดสิทธิในที่ดินเพื่อการศาสนา
หมวด ๘ การกำหนดสิทธิในที่ดินของคนต่างด้าว.
หมวด ๙ การกำหนดสิทธิในที่ดินของนิติบุคคล บางประเภท
หมวด ๑๐ การค้าที่ดิน.
หมวด ๑๑ค่าธรรมเนียม.
หมวด ๑๒ บทกำหนดโทษ.
บัญชีอัตราค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย
ท้ายประมวลกฎหมายที่ดิน.
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะ ๓ ทรัพย์.
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บรรพ ทรัพย์สิน
ลักษณะ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป.
ลักษณะ ๒ กรรมสิทธิ์.
หมวด ๑ การได้มาซึ่ง กรรมสิทธิ์
หมวด ๒ แดนแห่งกรรมสิทธิ์และ การใช้กรรมสิทธิ์
หมวด ๓ กรรมสิทธิ์รวม.
ลักษณะ ๓ ครอบครอง.
ลักษณะ ๔ ภาระจำยอม.
ลักษณะ ๕ อาศัย..
ลักษณะ สิทธิเหนือพื้นดิน.
ลักษณะ ๗ สิทธิเก็บกิน.
ลักษณะ ๘ ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์.
พระราชบัญญัติการเช่าอสังหาริมทรัพย์เพื่อ พาณิชยกรรมและอุตสาทกรรม พ.ศ. ๒๕๔๒.
พระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๒๔.
หมวด ๑ คณะกรรมการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.. การเช่านา.
หมวด ๒ ส่วนที่ ๑ ระยะเวลาการเช่า และการบอกเลิกการเช่า.
ส่วนที่ ๒ ค่าเช่านา
ส่วนที่ ๓ สิทธิหน้าที่ของผู้เช่านาและผู้ให้เช่านา
ส่วนที่ ๔ อุทธรณ์ และการบังคับคดี.
ส่วนที่ ๕ บทกำหนดโทษ
หมวด ๓ การเช่าที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมอย่างอื่น.
หมวด ๔ บทกำหนดโทษ.
บทเฉพาะกาล
พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๓.
หมวด ๑ คณะกรรมการจัดสรรที่ดิน.
หมวด ๒ การขออนุญาตจัดสรรที่ดิน
หมวด ๓ การดำเนินการจัดสรรที่ดิน
หมวด ๔ การบำรุงรักษาสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ
หมวด ๕ การยกเลิกการจัดสรรที่ดิน
หมวด ๖ บทกำหนดโทษ.
บทเฉพาะกาล
พระราชบัญญัติจัดธูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. ๒๕๔๗.
หมวด ๑ คณะกรรมการจัดรูปที่ดิน เพื่อพัฒนาพื้นที่.
หมวด ๒ คณะกรรมการจัดรูปที่ดิน เพื่อพัฒนาพื้นที่ส่วนจังหวัด.
หมวด ๓ สมาคมจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่.
หมวด ๔ บททั่วไปเกี่ยวกับการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่.
หมวด ๕ การเสนอโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่.
หมวด ๖ การดำเนินโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่
หมวด ๗ กองทุนจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่.
หมวด ๘ บทกำหนดโทษ.
บทเฉพาะกาล.
พระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมพ.ศ. ๒๕๕๘.
หมวด ๑ คณะกรรมการจัดรูปที่ดิน.
หมวด ๒ สำนักงานจัดรูปที่ดิน
หมวด ๓ การจัดระบบน้ำเพื่อเกษตรกรรม
หมวด ๕ การจัดรูปที่ดิน
หมวด ๕ กองทุนจัดรูปที่ดิน
หมวด ๖ บทกำหนดโทษ
บทเฉพาะกาล
พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๖๒.