ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง พร้อม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2566
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง-พร้อม-พ-ร-บ-วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค-แก้ไขเพิ่มเติม-พ-ศ-2566
ข้อมูลสินค้า
ราคา
300.00 255.00 บาท
ขายแล้ว
1,100 ชิ้น
ร้านค้า
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง พร้อม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2566
ผู้แต่ง : The Justice Group
ปีที่พิมพ์ : 2565
จำนวนหน้า: 332 หน้า (T)
ขนาด : A4
รูปแบบ : ปกแข็ง สันตรง เย็บกี่ กระดาษถนอมสายตา มีพื้นที่ให้จดโน้ต
9786162605345

คำนำ

ในการจัดพิมพ์ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
ใหม่ล่าสุด พ.ศ. ๒๕๖๖) ครั้งนี้ คณะผู้จัดทำได้ทำการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่งจนถึง (ฉบับที่ ๓๒) ซึ่งเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๒0 ตรี โดยมีเหตุผล
ในการแก้ไขเพื่อส่งเสริมให้มีระบบการไกล่เกลี่ยก่อนฟ้องคดีเพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้ที่มี
กรณีพิพาททางแพ่งใช้เป็นช่องทางในการยุติข้อพิพาทก่อนที่จะมีการฟ้องคดี โดยคู่กรณี
สามารถร้องขอให้ศาลแต่งดั้งผู้ประนีประนอมดำเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและหาก
ตกลงกันได้ก็อาจขอให้ศาลมีคำพิพากษาตามยอมได้ทันทีทำให้ข้อพิพาททางแพ่งสามารถ
ยุติลงได้ในเวลาอันรวดเร็วโดยไม่จำเป็นต้องมีการฟ้องคดี และได้เพิ่มพระราชบัญญัติ
การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งเป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นใหม่เพื่อแก้ไขปัญหา
ข้อพิพาททางแพ่ง ทางอาญา ที่เกิดขึ้นจำนวนมาก และนับวันจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดย
ในการนำกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทมาใช้เพื่อการยุติหรือระงับข้อพิพาทดังกล่าว
เพื่อลดปริมาณคดีที่ขึ้นสู่ศาลให้มีจำนวนที่ลดลง รวมทั้งเป็นการลดปัญหาความขัดแย้งอีกด้วย
คณะผู้จัดทำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าในการจัดทำหนังสือประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมใหม่ล่าสุด พ.ศ. ๒๕๖๖) นี้
จะเป็นประโยชน์และสามารถนำไปใช้งานได้อย่างคุ้มค่า

คณะวิชาการ
The Justice Group

สารบัญ

พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง พุทธศักราช ๒๔๗๗
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ภาค ๑ บททั่วไป
ลักษณะ ๑ บทวิเคราะห์ศัพท์
ลักษณะ ๒ ศาล
หมวด ๑ เขตอำนาจศาล
หมวด ๒ การคัดค้านผู้พิพากษา
หมวด ๓ อำนาจและหน้าที่ของศาล
หมวด ๔ การนั่งพิจารณา
หมวด ๕ รายงานและสำนวนความ
ลักษณะ ๓ คู่ความ
ลักษณะ ๔ การยื่นและส่งคำคู่ความและเอกสาร
ลักษณะ ๕ พยานหลักฐาน
หมวด ๑ หลักทั่วไป
หมวด ๒ ว่าด้วยการมาศาลของพยานและการชักถามพยาน
หมวด ๓ การนำพยานเอกสารมาสืบ
หมวด ๔ การตรวจและการแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญโดยศาล
ลักษณะ ๖ คำพิพากษาและคำสั่ง
หมวด ๑ หลักทั่วไปว่าด้วยการชี้ขาดตัดสินคดี
หมวด ๒ ข้อความและผลแห่งคำพิพากษาและคำสั่ง
หมวด ๓ ค่าฤชาธรรมเนียม
ส่วนที่ ๑ การกำหนดและการชำระค่าฤชาธรรมเนียมและการยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
ส่วนที่ ๒ ความรับผิดชั้นที่สุดในค่าฤชาธรรมเนียม
ภาค ๒ วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น
ลักษณะ ๑ วิธีพิจารณาสามัญในศาลชั้นต้น
ลักษณะ ๒ วิธีพิจารณาวิสามัญในศาลชั้นต้น
หมวด ๑ วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่
หมวด ๒ การพิจารณาโดยขาดนัด
ส่วนที่ ๑ การขาดนัดยื่นคำให้การ
ส่วนที่ ๒ การขาดนัดพิจารณา
หมวด ๓ อนุญาโตตุลาการ
หมวด ๔ การดำเนินคดีแบบกลุ่ม
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป
ส่วนที่ ๒ การขออนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม
ส่วนที่ ๓ การพิจารณาคดีแบบกลุ่ม ๒๒๒/๑๔-๒๒๒/๓๔
ส่วนที่ ๔ คำพิพากษาและการ
ส่วนที่ ๕ อุทธรณ์และฎีกาบังคับคดี
ส่วนที่ ๖ ค่าธรรมเนียม
ภาค ๓ อุทธรณ์และฎีกา
ลักษณะ ๑ อุทธรณ์
ลักษณะ ๒ ฎีกา
ภาค ๔ วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาและการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ลักษณะ ๑ วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา
หมวด ๑ หลักทั่วไป
หมวด ๒ คำขอในเหตุฉุกเฉิน
ลักษณะ ๒ การบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
หมวด ๑ หลักทั่วไป
ส่วนที่ ๑ ศาลที่มีอำนาจในการบังคับคดี
ส่วนที่ ๒ คำบังคับ
ส่วนที่ ๓ การขอบังคับคดี
ส่วนที่ ๔ การพิจารณาคำขอบังคับคดี
ส่วนที่ ๕ การขอให้ศาลไต่สวนเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษา ๒๗๗
ส่วนที่ ๖ อำนาจทั่วไปของเจ้าพนักงานบังคับคดี
ส่วนที่ ๗ ผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดี
ส่วนที่ ๘ การงดการบังคับคดี
ส่วนที่ ๙ การถอนการบังคับคดี
ส่วนที่ ๑๐ การเพิกถอนหรือแก้ไขการบังคับคดีที่ผิดระเบียบ
หมวด ๒ การบังคับคดีในกรณีที่เป็นหนี้เงิน
ส่วนที่ ๑ อำนาจของเจ้าพนักงานบังคับคดี
ส่วนที่ ๒ ทรัพย์สินที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
ส่วนที่ ๓ การยืดทรัพย์สิน
ส่วนที่ ๔ การอายัดสิทธิเรียกร้อง
ส่วนที่ ๕ การขอให้ศาลบังคับบุคคลภายนอกชำระหนี้ตามสิทธิเรียกร้อง
ส่วนที่ ๖ สิทธิของบุคคลภายนอกและผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ถูกบังคับคดี m๒๒-m๒๕
ส่วนที่ ๗ การขอเฉลี่ยและการเข้าดำเนินการบังคับคดีต่อไป
ส่วนที่ ๘ การขายหรือจำหน่าย
ส่วนที่ ๙ การตั้งผู้จัดการอสังหาริมทรัพย์หรือการประกอบกิจการแทนการขายหรือจำหน่าย
ส่วนที่ ๑๐ การทำบัญชีส่วนเฉลี่ย
ส่วนที่ ๑๑ เงินค้างจ่าย
หมวด ๓ การบังคับคดีในกรณีที่ให้ส่งคืนหรือส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง
หมวด ๔ การบังคับคดีในกรณีที่ให้ขับไล่
ส่วนที่ ๑ การบังคับคดีในกรณีลูกหนี้ตามคำพิพากษาต้องออกจากอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่อาศัยหรือทรัพย์ที่ครอบครอง
ส่วนที่ ๒ การบังคับคดีในกรณีที่ลูกหนี้ตามคำพิพากษาต้องรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างไม้ยืนต้นไม้ล้มลุกหรือธัญชาติหรือขนย้ายทรัพย์สินออกไปจากอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่อาศัยหรือทรัพย์ที่ครอบครอง
หมวด ๕ การบังคับคดีในกรณีที่ให้กระทำการหรืองดเว้นกระทำการ
ส่วนที่ ๑ การบังคับคดีในกรณีที่ให้กระทำการ
ส่วนที่ ๒ การบังคับคดีในกรณีที่ให้งดเว้นกระทำการ
หมวด ๖ การบังคับคดีในกรณีได้มาซึ่งทรัพย์สินที่มีทะเบียน
หมวด ๗ การบังคับคดีในกรณีที่ขอให้ศาลสั่งจับกุมและกักขังลูกหนี้ตามคำพิพากษา
หมวด ๘ การบังคับคดีในกรณีมีการประกันในศาล
ตารางและกฎ
คำที่เกี่ยวข้อง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหนังสือประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง a4ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 66ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง a5คำอธิบายกฎหมายวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคประมวลกฎหมาย วิธี พิจารณา ความ แพ่ง และ อาญาคำอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ล่าสุดประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ฉบับกายวิภาค

สินค้าใกล้เคียง