ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พระธรรมนูญศาลยุติธรรม แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2566
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา-พระธรรมนูญศาลยุติธรรม-แก้ไขเพิ่มเติม-พ-ศ-2566
ข้อมูลสินค้า
ราคา
300.00 255.00 บาท
ขายแล้ว
1,100 ชิ้น
ร้านค้า
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พระธรรมนูญศาลยุติธรรม แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2566
ผู้แต่ง : The Justice Group
ปีที่พิมพ์ : 2565
จำนวนหน้า : 224 หน้า
ขนาด : 19 x 26.5 ซม.(T)
รูปแบบ : ปกแข็ง สันตรง เย็บกี่
9786162605352

คำนำ

ในการจัดพิมพ์ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับแก้ไข
เพิ่มเติมใหม่ล่าสุด พ.ศ. ๒๕๖๖) ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา จนถึง (ฉบับที่ ๓๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งประกาศราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๓๔ ก หน้า ๑๙ ลงวันที่ ๒. มีนาคม ๒๕๖๒ โดยฉบับที่ ๓๓
ซึ่งประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๒๐ ก หน้า 2 ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์
๒๕๖๒ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
๑. กำหนดหลักกณฑ์การตั้งทนายความให้แก่จำเลยและกำหนดให้
จำเลยอาจแถลงให้ศาลทราบถึงข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายอันสำคัญที่ศาลควรสั่งว่าคดี
ไม่มีมูล (มาตรา ๑๖๕/๑ และมาตรา ๑๖๕/๒)
๒. กำหนดให้คำสั่งของศาลที่ว่าคดีมีมูลให้แสดงข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย
พร้อมเหตุผลประกอบ (มาตรา ๑๖๗ วรรคสอง)
๓. เพิ่มเติมกรณีที่ศาลมีอำนาจพิจารณาและสืบพยานลับหลังจำเลยได้
(มาตรา ๑๗๒ ทวิ วรรคหนึ่ง (๔) และ (๕)
๔. กำหนดหลักเกณฑ์ในการดำเนินกระบวนพิจารณากรณีจำเลยหลบหนี
หรือไม่มาฟังการพิจารณาและบพยานใดยไม่มีเหตุอันสมควร (มาตรา ๑๗๒ ทวิ/๑
และมาตรา ๑๗๒ ทวิ/๒)
8. กำหนดค่าใช้ายในการส่งสำเนาคำฟ้องและหมายเรียกให้แก่จำเลย
กรณีคดีซึ่งราษฎรเป็นโจทก์ (มาตรา ๒๕๗)
ส่วนฉบับที่ ๓๔ มีรายละเอียดแห่งการแก้ไขดังนี้
๑. ขยายอัตราโทษจำคุกในคดีที่จะต้องเรียกประกันและหลักประกัน
จากเดิม ๕ ปี เป็น ๑๐ ปี (แก้ไขมาตรา ๑๑๐ วรรคหนึ่ง)
๒. กำหนดให้ศาลมีอำนาจแต่งตั้งเจ้าพนักงานศาลทำหน้าที่แจ้งพนักงาน
ฝ่ายปกครองหรือตำรวจจับผู้ต้องหาหรือจำเลยที่หลบหนีการปล่อยชั่วคราวของศาล
(เพิ่มเติมมาตรา ๑๑๗ วรรคสาม)
๓. ในคดีที่ราษฎรเป็นโจทก์ห้ามมีให้มีการฟ้องคดีอาญาโดยไม่สุจริตอัน
เป็นการล่วงละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น (เพิ่มเติมมาตรา ๑๖๑/๑)
鞍นคั
และในส่วนของพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มีการแก้ไขถึง (ฉบับที่ b)
พ.ศ. ๒๕๖๒ จำนวน ๕ มาตรา ได้แก่ มาตรา ๒, มาตรา ๘ วรรคหนึ่ง, มาตรา ๑๖
วรรคสอง, มาตรา ๑๙ และมาตรา ๑๙/, เนื่องจากมีการจัดตั้งศาลแพ่งตลิ่งชัน
ศาลแพ่งพระโขนง ศาลแพ่งมีนบุรี ศาลอาญาตลิ่งชัน ศาลอาญาพระโขนง
และศาลอาญามีนบุรี โดยกำหนดให้เป็นศาลชั้นต้นในห้องที่กรุงเทพมหานคร
จึงเป็นที่มาในการแก้ไขเพิ่มเติมพระธรรมนูญศาลยุติธรรม (ฉบับที่ ๖) ดังกล่าว
คณะผู้จัดทำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
(ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมใหม่ล่าสุด พ.ศ. ๒๕๖๖) เล่มนี้ สามารถนำไปใช้งานได้อย่าง
คณะวิชาการ
The Justice Group

สารบัญ

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช ๒๔๗๗
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ภาค ๑ ข้อความเบื้องต้น
ลักษณะ ๑ หลักทั่วไป
ลักษณะ ๒ อำนาจพนักงานสอบสวนและศาล
หมวด ๑ หลักทั่วไป
หมวด ๒ อำนาจสืบสวนและสอบสวน
หมวด ๓ อำนาจศาล
ลักษณะ ๓ การฟ้องคดีอาญาและคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่อง
กับคดีอาญา
หมวด ๑ การฟ้องคดีอาญา
หมวด การฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
ลักษณะ หมายเรียกและหมายอาญา
หมวด ๑ หมายเรียก
หมวด ๒ หมายอาญา
ส่วนที่ ๑ หลักทั่วไป
ส่วนที่ ๒ หมายจับ
ส่วนที่ ๓ หมายคั้น
ส่วนที่ ๔ หมายขัง หมายจำคุก หมายปล่อย ๗๑-๗๖
ลักษณะ ๕ จับ ขัง จำคุก คัน ปล่อยชั่วคราว
หมวด ๑ จับ ขัง จำคุก
หมวด ๒ ค้น
หมวด ๓ ปล่อยชั่วคราว
ภาค ๒ สอบสวน
ลักษณะ ๑ หลักทั่วไป
ลักษณะ ๒ การสอบสวน
หมวด ๑ การสอบสวนสามัญ
หมวด ๒ การชันสูตรพลิกศพ
ภาค ต วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น
ลักษณะ , ฟ้องคดีอาญาและไต่สวนมูลฟ้อง
ลักษณะ ๒ การพิจารณา
ลักษณะ ต คำพิพากษาและคำสั่ง
ภาค ๔ อุทธรณ์และฎีกา
ลักษณะ ๑ อุทธรณ์
หมวด ๑ หลักทั่วไป
หมวด ๒ การพิจารณา คำพิพากษา
และคำสั่งชั้นศาลอุทธรณ์
ลักษณะ ๒ ฎีกา
หมวด ๑ หลักทั่วไป
หมวด ๒ การพิจารณา คำพิพากษาและคำสั่งชั้นฎีกา
ภาค ๔ พยานหลักฐาน
หมวด ๑ หลักทั่วไป
หมวด ๒ พยานบุคคล
หมวด ๓ พยานเอกสาร
หมวด ๔ พยานวัตถุ
หมวด ๕ ผู้ชำนาญการพิเศษ
ภาค ๖ การบังคับตามคำพิพากษาและค่าธรรมเนียม
หมวด ๑ การบังคับตามคำพิพากษา
หมวด ๒ ค่าธรรมเนียม
ภาค ๗ อภัยโทษ เปลี่ยนโทษหนักเป็นเบาและลดโทษ
บัญชีแนบท้าย
กฏกระทรวงมหาดไทย
กฎกระทรวง
การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์อื่นใด
ในการติดตามตัวผู้ถูกคุมความประพฤติ ตามเงื่อนไข
ที่ศาลหรือเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจสั่ง พ.ศ. ๒๕๖๐
ระเบียบกระทรวงยุติธรรม
ะเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม
ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
พระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๔๔๓
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
หมวด ๑ บททั่วไป
หมวด ๒ เขตอำนาจศาล
หมวด ๓ องค์คณะผู้พิพากษา
หมวด ๔ การจ่าย การโอน และการเรียกคืนสำนวนคดี
พระรชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณา
ความอาญาในศาลแขวง พ.ศ. ๒๔๙๙
บทเฉพาะกาล
พระราชบัญญัติให้นำวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง
มาใช้บังคับในศาลจังหวัด พ.ศ. ๒๕๒๐
หมายเหตุ
คำที่เกี่ยวข้อง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2566หนังสือประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหนังสือประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาคำอธิบาย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ฉบับอ้างอิงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและแพ่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กายวิภาคประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ล่าสุดประมวลกฎหมาย วิธี พิจารณา ความ แพ่ง และ อาญา

สินค้าใกล้เคียง