ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง-ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา-พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
ข้อมูลสินค้า
ราคา
360.00 324.00 บาท
ขายแล้ว
6 ชิ้น
ร้านค้า
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
ชื่อผู้รวบรวม : คณะวิชาการ The Justice Group
ปีที่พิมพ์ : 2565
จำนวนหน้า : 224 หน้า
ขนาด : 14.5 x 21 ซม.(T)
รูปแบบ : ปกแข็ง สันตรง เย็บกี่
9786162605239

คำนำ

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่มนี้ ได้จัดรวบรวมขึ้นอีกครั้ง
เนื่องจากมีเสียงเรียกร้องจากลูกค้าจำนวนมากแต่ด้วยทางสำนักพิมพ์
ได้วิเคราะห์แล้วเห็นว่าการรวมเล่มนั้นควรจะจัดทำเมื่อมีการแก้ไข
เพิ่มเติมกฎหมายเริ่มที่จะนิ่งแล้ว ดังนั้น ณ เวลานี้จึงถือว่าเป็น
เวลาที่หมาะสมที่จะนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มารวมเล่มและ
จัดทำจำหน่ายต่อไป ในส่วนของการแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ได้เพิ่มเติมล่าสุดในเรื่องการไกล่เกลี่ยก่อนฟ้องคดี ในมาตรา
๒๐ ตรี ตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๓๒) พ.ศ. ๒๕๖๓ ซึ่งประกาศ
ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๓๗ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๑ วันที่ ๘
กันยายน ๒๕๖ ๓ ในส่วนของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญาได้แก้ไขเพิ่มเติมล่าสุดโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๓๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๑๗ มาตรา ๑๖๑/๑ ซึ่งประกาศราช
กิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๓๖ ตอนที่ ๓๔ ก หน้า ๑๙ วันที่ ๒๐ มีนาคม
พ.ศ. ๒๕๖๒ คณะผู้จัดทำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าในการจัดทำหนังสือ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และประมวลกฎหมายอาญา
เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ในการใช้งาน

คณะวิชาการ
The Justice Group

สารปัญ

พระราชปัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง พุทธศักราช ๒๔๗๗
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ภาค ๑ บททั่วไป
ลักษณะ ๑ บทวิเคราะห์ศัพท์
ลักษณะ ๒ ศาล
หมวด ๑ เขตอำนาจศาล
หมวด ๒ การคัดค้านผู้พิพากษา
หมวด ๓ อำนาจและหน้าที่ของศาล
หมวด ๔ การนั่งพิจารณา
หมวด ๕ รายงานและสำนวนความ
ลักษณะ ๓ คู่ความ
ลักษณะ ๔ การยื่นและส่งคำคู่ความและเอกสาร
ลักษณะ ๕ พยานหลักฐาน
หมวด ๑ หลักทั่วไป
หมวด ๒ ว่าด้วยการมาศาลของพยาน และการซักถามพยาน
หมวด ๓ การนำพยานเอกสารมาสืบ
หมวด ๔ การตรวจและการแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญโดยศาล
ลักษณะ ๖ คำพิพากษาและคำสั่ง
หมวด ๑ หลักทั่วไปว่าด้วยการชี้ขาดตัดสินคดี
หมวด ๒ ข้อความและผลแห่งคำพิพากษาและคำสั่ง
หมวด ๓ ค่าฤชาธรรมเนียม
ส่วนที่ ๑ การกำหนดและการชำระค่าฤชาธรรมเนียมและการยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
ส่วนที่ ๒ ความรับผิดชั้นที่สุด
ในค่าฤชาธรรมเนียม
ภาค ๒ วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น
ลักษณะ ๑ วิธีพิจารณาสามัญในศาลชั้นต้น
ลักษณะ ๒ วิธีพิจารณาวิสามัญในศาลชั้นต้น
หมวด ๑ วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่
หมวด ๒ การพิจารณาโดยขาดนัด
ส่วนที่ ๑ การขาดนัดยื่นคำให้การ
ส่วนที่ ๒ การขาดนัดพิจารณา
หมวด ๓ อนุญาโตตุลาการ
หมวด ๔ การดำเนินคดีแบบกลุ่ม
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป
ส่วนที่ ๒ การขออนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม
ส่วนที่ ๓ การพิจารณาคดีแบบกลุ่ม
ส่วนที่ ๔ คำพิพากษาและการบังคับคดี
ส่วนที่ ๕ อุทธรณ์และฎีกา
ส่วนที่ ๖ ค่าธรรมเนียม
ภาค ๓ อุทธรณ์และฎีกา
ลักษณะ ๑ อุทธรณ์
ลักษณะ ๒ ฎีกา
ภาค ๕ วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาและการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ลักษณะ ๑ วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา
หมวด ๑ หลักทั่วไป
หมวด ๒ คำขอในเหตุฉุกเฉิน
ลักษณะ ๒ การบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
หมวด ๑ หลักทั่วไป
ส่วนที่ ๑ ศาลที่มีอำนาจในการบังคับคดี
ส่วนที่ ๒ คำบังคับ
ส่วนที่ ๓ การขอบังคับคดี
ส่วนที่ ๔ การพิจารณาคำขอบังคับคดี
ส่วนที่ ๕ การขอให้ศาลไต่สวนเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษา
ส่วนที่ ๖ อำนาจทั่วไปของเจ้าพนักงานบังคับคดี
ส่วนที่ ๗ ผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดี
ส่วนที่ ๘ การงดการบังคับคดี
ส่วนที่ ๙ การถอนการบังคับคดี
ส่วนที่ ๑๐ การเพิกถอนหรือแก้ไขการบังคับคดีที่ผิดระเบียบ
หมวด ๒ การบังคับคดีในกรณีที่เป็นหนี้เงิน
ส่วนที่ ๑ อำนาจของเจ้าพนักงานบังคับคดี
ส่วนที่ ๒ ทรัพย์สินที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
ส่วนที่ ๓ การยึดทรัพย์สิน
ส่วนที่ การอายัสิทธิเรียกร้อง
ส่วนที่ ๕ การขอให้ศาลบังคับบุคคล ภายนอกชำระหนี้ตามสิทธิเรียกร้อง
ส่วนที่ ๖ สิทธิของบุคคลภายนอกและผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ถูกบังคับคดี
ส่วนที่ ๗ การขอเฉลี่ยและการเข้า ดำเนินการบังคับคดีต่อไป
ส่วนที่ ๘ การขายหรือจำหน่าย
ส่วนที่ ๙ การตั้งผู้จัดการอสังหาริมทรัพย์หรือการประกอบกิจการแทนการขายหรือจำหน่าย
ส่วนที่ ๑๐ การทำบัญชีส่วนเฉลี่ย
ส่วนที่ ๑๑ เงินค้างจ่าย
หมวด ๓ การบังคับคดีในกรณีที่ให้ส่งคืนหรือส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง
หมวด ๔ การบังคับคดีในกรณีที่ให้ขับไล่
ส่วนที่ ๑ การบังคับคดีในกรณีลูกหนี้ตามคำพิพากษาต้องออกจากอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่อาศัย หรือทรัพย์ที่ครอบครอง
ส่วนที่ ๒ การบังคับคดีในกรณีที่ ลูกหนี้ตามคำพิพากษาต้อง รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างไม้ยืนต้น ไม่ล้มลุกหรือธัญชาติ หรือ ขนย้ายทรัพย์สิน ออกไป จากอสังหาริมทรัพย์ ที่ อยู่อาศัยหรือทรัพย์ที่ ครอบครอง
หมวด ๕ การบังคับคดีในกรณีที่ให้กระทำการ หรืองดเว้นกระทำการส่วนที่ ๑ การบังคับคดีในกรณีที่ให้กระทำการ
ส่วนที่ ๒ การบังคับคดีในกรณีที่ให้งดเว้นกระทำการ
หมวด ๖ การบังคับคดีในกรณีได้มาซึ่งทรัพย์สินที่มีทะเบียน
หมวด ๗ การบังคับคดีในกรณีที่ขอให้ศาลสั่งจับกุมและกักขังลูกหนี้ตามคำพิพากษา
หมวด ๘ การบังคับคดีในกรณีมีการประกันในศาล
ตารางกฎกระทรวงและประกาศกระทรวง
หมายเหตุ
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
พ.ศ. ๒๕๕๑
หมวด ๑ บททั่วไป
หมวด ๒ วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคใน
ศาลชั้นต้น
ส่วนที่ ๑ การฟ้องคดี
ส่วนที่ ๒ การฟ้องคดี
ส่วนที่ ๓ คำพิพากษาและคำสั่งชี้ขาด
ตัดสินคดี
หมวด ๓ อุทธรณ์
หมวด ๔ ฎีกา
หมวด ๕ วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา
หมวด ๖ การบังคับตามคำพิพากษา
หรือคำสั่ง
บทเฉพาะกาล
พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
พ.ศ. ๒๕๖๒
บัญชีท้ายพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
พ.ศ. ๒๕๖๒
คำที่เกี่ยวข้อง
หนังสือประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาประมวลกฎหมาย วิธี พิจารณา ความ แพ่ง และ อาญาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและแพ่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง a4ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 66ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง a5ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2566หนังสือประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

สินค้าใกล้เคียง