ประมวลกฎหมายอาญา แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2566
ประมวลกฎหมายอาญา-แก้ไขเพิ่มเติม-พ-ศ-2566
ข้อมูลสินค้า
ราคา
240.00 199.00 บาท
ขายแล้ว
1,000 ชิ้น
ร้านค้า
ประมวลกฎหมายอาญา แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2566
ผู้แต่ง : คณะวิชาการ The Justice Group
ปีที่พิมพ์ : 2565
จำนวนหน้า : 184 หน้า (T)
ขนาด : A4
รูปแบบ : ปกแข็ง สันตรง กระดาษถนอมสายตา (มีพื้นที่เขียนโน้ตในแต่ละหน้า)
9786162605338

คำนำ

ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมใหม่ล่าสุด พ.ศ. ๒๔๖๖) เล่มนี้
ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมล่าสุดถึง (ฉบับที่ ๒๙) พ.ศ. ๒๕๖๕ ซึ่งมีการแก้ไขจำนวน ๒ มาตรา
ได้แก่มาตรา ๗๓ และมาตรา ๗๔ ซึ่งเป็นการแก้ไขเกี่ยวกับเกณฑ์อายุเด็กซึ่งไม่ต้องรับโทษ
แม้ได้กระทำการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิดไว้จากอายุ ๑๐ แก้ไขเป็นอายุ ๑๒ ปี ช
และแก้ไขเกี่ยวกับมาตรการตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กเพื่อให้การสงเดราะห์
และคุ้มครองสิทธิและสวัสดิภาพของเด็กเพื่อให้เด็กได้กลับตัวเป็นคนดีและเติบโตเป็น
ประชากรที่มีคุณภาพกลับคืนสู่สังคมได้ต่อไป
คณะผู้จัดทำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
ใหม่ล่าสุด พ.ศ. ๒๕๖๖) เล่มนี้ จะทำให้ท่านได้รับประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าในการใช้งาน
คณะวิชาการ
The Justice Group

สารบัญ

ประมวลกฎหมายอาญา
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. ๒๔๙๙
ภาค 1 บทบัญญัติทั่วไป
ลักษณะ 1 บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดทั่วไป
หมวด ๑ บทนิยาม
หมวด ๒ การใช้กฎหมายอาญา
หมวด ๓ โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย
ส่วนที่ ๑ โทษ
ส่วนที่ ๒ วิธีการเพื่อความปลอดภัย
ส่วนที่ ๓ วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษและการรอการลงโทษ
หมวด ๔ ความรับผิดในทางอาญา
หมวด ๕ การพยายามกระทำความผิด
หมวด ๖ ตัวการและผู้สนับสนุน
หมวด ๗ การกระทำความผิดหลายบทหรือหลายกระทง
หมวด ๘ การกระทำความผิดอีก
หมวด ๙ อายุความ
ลักษณะ ๒ บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ
ภาค ๒ ความผิด
ลักษณะ ๑ ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร
หมวด ๑ ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินีรัชทายาท และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ๑0๗-๑๑๒
หมวด ๒ ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร
หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร
หมวด ๔ ความผิดต่อสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ ๑๓๐-๑๓๕
ลักษณะ ๑/๑ ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย
ลักษณะ ๒ ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
หมวด ๑ ความผิดต่อเจ้าพนักงาน
หมวด ๒ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ
ลักษณะ ๓ ความผิดเกี่ยวกับยุติธรรม
หมวด ๑ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม
หมวด ๒ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรมความผิดเกี่ยวกับศาสนา
ลักษณะ ๕ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน
ลักษณะ ๖ ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน
ลักษณะ ๗ ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา
หมวด ๒ ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา แสตมป์และตั๋ว ๒๕๐-๒๖๓
หมวด ๓ ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
หมวด ๔ ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์
หมวด ๕ ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง
ลักษณะ ๘ ความผิดเกี่ยวกับการค้า
ลักษณะ ๙ ความผิดเกี่ยวกับเพศ
ลักษณะ ๑๐ ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
หมวด ๑ ความผิดต่อชีวิต
หมวด ๒ ความผิดต่อร่างกาย
หมวด ๓ ความผิดฐานทำให้แท้งลูก
หมวด ๔ ความผิดฐานทอดทิ้งเด็กคนป่วยเจ็บหรือคนชรา
ลักษณะ ๑๑ ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง
หมวด ๑ ความผิดต่อเสรีภาพ
หมวด ๒ ความผิดฐานเปิดเผยความลับ
หมวด ๓ ความผิดฐานหมิ่นประมาท
ลักษณะ ๑๒ ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
หมวด ๑ ความผิดฐานลักทรัพย์และวิ่งราวทรัพย์
หมวด ๒ ความผิดฐานกรรโชก รีดเอาทรัพย์ชิงทรัพย์และปล้นทรัพย์
หมวด ๓ ความผิดฐานฉ้อโกง
หมวด ๔ ความผิดฐานโกงเจ้าหนี้
หมวด ๕ ความผิดฐานยักยอก
หมวด ๖ ความผิดฐานรับของโจร
หมวด ๗ ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
หมวด ๘ ความผิดฐานบุกรุก
ลักษณะ ๑๓ ความผิดเกี่ยวกับศพภาค ๓ ลหุโทษหมายเหตุพระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. ๒๕๕๙
หมวด ๑ คณะกรรมการคุมประพฤติ
หมวด ๒ อำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน
หมวด ๓ การสืบเสาะและพินิจ การคุมความประพฤติและการทำงานบริการสังคม หรือสาธารณประโยชน์
หมวด ๔ อำนาจของศาลเกี่ยวกับการคุมประพฤติ
หมวด ๕ การดำเนินการเพื่อสร้างความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
หมวด ๖ การสงเคราะห์
หมวด ๗ การมีส่วนร่วมของหน่วยงานของรัฐและภาคประชาชน
หมวด ๘ บทกำหนดโทษ
บทเฉพาะกาล
หมายเหตุ
คำที่เกี่ยวข้อง
ประมวลกฎหมายอาญาหนังสือ ประมวลกฎหมายอาญาหนังสือประมวลกฎหมายอาญาประมวลกฎหมายอาญา แพ่งประมวลกฎหมายอาญา 2566ประมวลกฎหมายอาญา เล็กประมวลกฎหมายอาญา 66ประมวลกฎหมายอาญา อ้างอิงประมวลกฎหมายอาญาและประมวลกฎหมายแพ่งประมวลกฏหมายอาญา ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม

สินค้าใกล้เคียง