หนังสือกฎหมายอาคารชุด และการบริหารนิติบุคคลอาคารชุด วิวัธน์ ศรีเจริญวงศ์,พัลลภ กฤตยานวัช
หนังสือกฎหมายอาคารชุด-และการบริหารนิติบุคคลอาคารชุด-วิวัธน์-ศรีเจริญวงศ์-พัลลภ-กฤตยานวัช
ข้อมูลสินค้า
ราคา
450.00 บาท
ขายแล้ว
80 ชิ้น
ร้านค้า
กฎหมายอาคารชุด และการบริหารนิติบุคคลอาคารชุด วิวัธน์ ศรีเจริญวงศ์,พัลลภ กฤตยานวัช
ผู้แต่ง : วิวัธน์ ศรีเจริญวงศ์,พัลลภ กฤตยานวัช
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 1 : ตุลาคม 2560
จำนวนหน้า : 448 หน้า
ขนาด : A4
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786169271215

สารบัญ

คำนิยม
คำนำ
หมวดที่ ๑ สาระว่าด้วยอาคารชุดตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
และแก้ไขเพิ่มเติมฉบับต่างๆ
บทที่ ๑ เหตุผลการตราพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๓๔, ๒๕๔๒ และ ๒๕๕๑
๑. การตราพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
๑.๑ การประกาศและผลใช้บังคับ
๑.๒ เหตุผลการตราพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
๑.๓ สาระสำคัญพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
๒. การตราพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔
๒.๑ การประกาศและผลใช้บังคับ
๒.๒ เหตุผลการตราพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔
๒.๓ สาระสำคัญพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔
๓. การตราพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒
๓.๑ การประกาศและผลใช้บังคับ
๓.๒ เหตุผลการตราพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒
๓.๓ สาระสำคัญพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒
๔. การตราพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๔.๑ การประกาศและผลใช้บังคับ
๔.๒ เหตุผลการตราพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๔.๓ สาระสำคัญพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
บทที่ ๒ นิยามความหมายของอาคารชุดห้องชุดและคำอื่น ๆ ในพระราชบัญญัติอาคารชุด
๑. นิยามความหมายของอาคารชุดและห้องชุด
๒.นิยามความหมายของทรัพย์ส่วนบุคคล และทรัพย์ส่วนกลางของอาคารชุด
๓.นิยามความหมายของหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด และคำต่งๆ เกี่ยวกับการบริหารนิติบุคคลอาคารชุด
๔.รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติอาดารชุด
บทที่ ๓ การจดทะเบียนอาคารชุด
๑.การยื่นคำขอจดทะเบียนอาคารชุด
๒.เอกสารหลักฐานที่ต้องยื่นเพื่อขอจดทะเบียนอาคารซุด
๓.การรับจดทะเบียนอาคารชุด
๔.การไม่รับจดทะเบียนอาดารชุด
๕.การขอจดทะเบียนอาคารชุด การประกาศ การแจ้งเจ้าหนี้ และการจดทะเบียนอาคารชุด ตามกฎกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๓
บทที่ ๔ การโฆษณาขายและการทำหนังสือสัญญาซื้อขายห้องชุด
๑.การโฆษณาขายห้องชุด
๒.สัญญาจะซื้อจะขาย หรือสัญญาซื้อขายห้องชุด
๓.แบบสัญญาจะซื้อจะขายห้องชุด (ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศกำหนด)
๔.ความรับผิดในความชำรุดบกพร่องในอาคารชุดที่จะขาย
บทที่ ๕ กรรมสิทธิ์ในห้องชุดและกรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลาง
๑.กรรมสิทธิ์ห้องชุดจะแบ่งแยกมิได้
๒.กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ส่วนบุคคล และกรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลาง
๓.อัตราส่วนในกรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลางของเจ้าของร่วม
๔.ทรัพย์สินที่ถือว่าเป็นทรัพย์ส่วนกลาง
๕.เงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้สิทธิ์ในทรัพย์ส่วนบุคคลและทรัพย์ส่วนกลาง
๖.การจัดพื้นที่ของอาคารชุดเพื่อประกอบการค้า
๗.เจ้าของร่วมต้องร่วมกันออกค่าภาษีอากรและค่ใช้จ่ายในการดูแลรักษา และการดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์ส่วนกลาง
๘.บทลงโทษเจ้าของห้องชุดที่ไม่ชำระค่าใช้จ่ายส่วนกลาง
บทที่ ๖ กรรมสิทธิ์ในห้องชุดของคนต่างด้าว
๑.คนต่างด้าวที่มีสิทธิ์ในการถือกรรมสิทธิ์ในห้องชุด
๒.คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ในห้องชุดได้ไม่เกินอัตราร้อยละสี่สิบเก้าของเนื้อที่ทั้งหมดในอาคารชุด
๓.หลักฐานที่ต้องแสดงในการโอนกรรมสิทธิ์ในห้องชุดให้แก่คนต่างด้าว
๔.หน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับห้องชุดให้แก่คนต่างด้าว
๕.เงื่อนไขที่กำหนดให้คนต่างด้าวต้องจำหน่ายห้องชุดของตน
บทที่ ๖ กรรมสิทธิ์ในห้องชุดของคนต่างด้าว (ต่อ)
๖. เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจ ที่มีคำสั่งเพิกถอนการอนุญาตให้คนต่างด้าวมีถิ่นที่อยู่ใน อาณาจักร มีหน้าที่ต้องแจ้งให้อธิบดีกรมที่ดินทราบ ภายในหกสิบวันนับแต่วันมีคำ
๗.ต่างด้าวที่ได้กรรมสิทธิ์ห้องชุดโดยรับมรดกหรือโดยประการอื่น ต้องแจ้งให้พ เจ้าหน้ที่ทราบภายในกำหนดเวลาหกสิบวัน และต้องจำหน่ายห้องชุดนั้นภายในหนึ่งปี
๘.ผู้เสียสัญชาติไทยต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบและต้องจำหน่ายห้องชุด ที่มีกรรมสิทธิ์อยู่ทั้งหมด
๙.ผู้เสียสัญชาติไทยกลายเป็นคนต่างด้าว และประสงค์จะมีหรือไม่มีกรรมสิทธิ์ใน ห้องชุดต่อไป ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด
๑๐.นิติบุคคลซึ่งมีสัญชาติไทยและมีกรรมสิทธิ์ในห้องชุดอยู่แล้ว ถ้าต่อมาสภาพของ
๑๑.นิติบุคคลนั้นเปลี่ยนแปลงไปเป็นนิติบุดคลซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนต่างด้าวต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบและต้องจำหน่ายห้องชุดนั้นนิติบุดคลซึ่งมีสัญชาติไทยและมีกรรมสิทธิ์ในห้องชุดอยู่แล้ว ถ้าต่อมาสภาพของนิติบุคคลนั้น เปลี่ยนแปลงไปเป็นนิติบุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนต่างด้าว และอาจถือกรรมสิทธิ์ ในห้องชุดได้ หากประสงค์จะมีหรือไม่มีกรรมสิทธิ์ในห้องชุดต่อไป ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ที่กฎหมายกำหนด
บทที่ ๗ หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด
๑. การออกหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุดตามแผนผังอาคารชุดที่จดทะเบียน
๒. สาระสำคัญในหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด
๓. แบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการออกหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด
๔. กฎกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยแบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการออกหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด
๕. การออกหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด กรณีที่ดินทรัพย์ส่วนกลางติดการจำนอง
๖. อำนาจการเพิกถอนหรือแก้ไขการออกหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด
๗. การขอรับหรือออกใบแทนหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุดกรณีต่างๆ
บทที่ ๘ การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับห้องชุด
๑. การขอและรับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับห้องชุด
๒. การออกหนังสือรับรองการปลอดหนี้ของผู้จัดการนิติบุคคลอาดารชุด
๓. การนำกฎหมายอื่นมาไช้บังคับแก่การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับห้องชุดโดยอนุโลม
หมวดที่ ๒ การจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดและการบริหารนิติบุคคลอาคารชุด
บทที่ ๙ การจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดสถานะและวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลอาคารชุด
๑. การขอจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด
๒. การรับจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด
๓. ฐานะของนิติบุคคลอาคารชุด
๔. วัตถุประสงค์ของนิติบุคคลอาคารชุด
๕. กรณีอ
คำที่เกี่ยวข้อง
อาคารชุดหนังสือบริหารธุรกิจและการจัดการการใช้และการตีความกฎหมายคำอธิบายกฎหมายลักษณะบุคคล บุคคลธรรมดา และนิติบุคคลหนังสือการบริหารธุรกิจหนังสือการบริหารเงินหนังสือการบริหารคนการศึกษากฎหมายและการตอบข้อสอบบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลกฎหมายล้มละลายและการฟื้นฟูกิจการ

สินค้าใกล้เคียง