กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 1 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
กฎหมายอาญา-ภาคความผิด-เล่ม-1-เกียรติขจร-วัจนะสวัสดิ์
ข้อมูลสินค้า
ราคา
360.00 324.00 บาท
ขายแล้ว
728 ชิ้น
ร้านค้า
กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 1 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
ผู้แต่ง : เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 7 : มกราคม 2565
จำนวนหน้า: 540 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786165885607

สารบัญ

บทที่ ๑ กรรมเดียวผิดกฎหมายบทเดียวและกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท
บทที่ ๒ หลักในประมวลกฎหมายอาญาภาค ๑ (บทบัญญัติทั่วไป) บางเรื่องที่จะต้องนำมาปรับใช้
บทที่ ๓ ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง (มาตรา ๑๓๖ ถึงมาตรา ๑๖๖) และความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม (มาตรา ๑๖๗ ถึงมาตรา ๒๐๕)
มาตรา ๑๓๖ “ดูหมิ่นเจ้าพนักงาน”
มาตรา ๑๓๗ “แจ้งความเท็จแก่เจ้าพนักงาน”
มาตรา ๑๓๘ “ต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงาน”
มาตรา ๑๔๐ “เหตุฉกรรจ์ของมาตรา ๑๓๘ วรรคสอง (รวมทั้งของมาตรา ๑๓๙)”
มาตรา ๑๓๙ “ข่มขืนใจเจ้าพนักงานให้ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้าที่ หรือให้ละเว้นการปฏิบัติการตามหน้าที่”
มาตรา ๑๔๑ “ถอน ทำให้เสียหายซึ่งตรา หรือ เครื่องหมายอันเป็นหลักฐานในการยึด อายัด หรือรักษาสิ่งใดๆ”
มาตรา ๑๔๒ “ทำให้เสียหาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย ทำให้สูญหายซึ่งทรัพย์สินหรือเอกสาร ซึ่งเจ้าพนักงานได้ยึดไว้หรือสั่งให้ส่งเพื่อเป็นพยานหลักฐาน หรือเพื่อบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย”
มาตรา ๑๔๓ “คนกลางเรียกหรือรับสินบน”
มาตรา ๑๔๔ “ให้สินบนเจ้าพนักงาน”
มาตรา ๑๖๗ “ให้สินบนเจ้าพนักงานในการยุติธรรม”
มาตรา ๑๔๕ “แสดงตนและกระทำการเป็นเจ้าพนักงาน”
มาตรา ๑๔๖ “สวมเครื่องแบบ ประดับเครื่องหมาย ใช้ยศ ตำแหน่ง เครื่องราชอิสริยาภรณ์ โดยไม่มีสิทธิ”
มาตรา ๑๔๗ “เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์”
มาตรา ๑๕๑ “เจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยทุจริต จัดการทรัพย์อันเป็นการเสียหาย”
มาตรา ๑๕๘ “เจ้าพนักงานทำให้เสียหาย ซ่อนเร้น เอาไปเสียซึ่งทรัพย์ หรือเอกสารซึ่งตนมีหน้าที่ปกครองหรือรักษา”
มาตรา ๑๔๘ “เจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจผู้อื่นให้มอบทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดแก่ตน”
มาตรา ๑๔๙ “เจ้าพนักงานเรียกหรือรับสินบน”
มาตรา ๒๐๑ “เจ้าพนักงานในการยุติธรรมเรียกหรือรับสินบน”
มาตรา ๑๕๐ “เจ้าพนักงานกระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใดในตำแหน่ง โดยเห็นแก่สินบน ซึ่งได้เรียกหรือรับไว้ก่อนหน้านั้น”
มาตรา ๑๕๒ “เจ้าพนักงานมีส่วนได้เสียเนื่องด้วยกิจการที่ตนมีหน้าที่จัดการ หรือดูแล”
มาตรา ๑๕๓ “เจ้าพนักงานจ่ายทรัพย์มากกว่าที่ควรจ่าย”
มาตรา ๑๕๔ “เจ้าพนักงานเรียกเก็บ หรือไม่เรียกเก็บภาษี หรือค่าธรรมเนียม หรือเงินอื่นใดโดยทุจริต หรือโดยทุจริตกระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดเพื่อให้ผู้มีหน้าที่ต้องเสียภาษี หรือค่าธรรมเนียมไม่ต้องเสียหรือเสียน้อย”
มาตรา ๑๕๕ “เจ้าพนักงานโดยทุจริตกำหนดราคาทรัพย์สินหรือสินค้าเพื่อให้ผู้ต้องเสียภาษี หรือค่าธรรมเนียมไม่ต้องเสีย หรือเสียน้อย”
มาตรา ๑๕๖ “เจ้าพนักงานโดยทุจริตแนะนำหรือกระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใด เพื่อให้ละเว้นการลงรายการหรือลงรายการเท็จลงในบัญชี แก้ไขบัญชี หรือซ่อนเร้นหรือทำหลักฐานในการลงบัญชี อันจะทำให้มิต้องเสียภาษี หรือค่าธรรมเนียม หรือเสียน้อย”
มาตรา ๑๕๗ “เจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดหรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต”
มาตรา ๑๕๘ “เจ้าพนักงานทำให้เสียหาย ซ่อนเร้น เอาไปเสียซึ่งทรัพย์ หรือเอกสารซึ่งตนมีหน้าที่ปกครองหรือรักษา”
มาตรา ๑๕๙ “เจ้าพนักงานถอน ทำให้เสียหาย ซึ่งตราหรือเครื่องหมายอันเจ้าพนักงานได้ประทับไว้ที่ทรัพย์หรือเอกสารเพื่อเป็นหลักฐานในการยึดหรือรักษาสิ่งนั้น”
มาตรา ๑๖๐ “เจ้าพนักงานใช้ดวงตราหรือรอยตรา อันมิชอบด้วยหน้าที่ ซึ่งทำให้ผู้อื่นเสียหาย”
มาตรา ๑๖๑ “เจ้าพนักงานปลอมเอกสาร”
มาตรา ๑๖๒ “เจ้าพนักงานทำเอกสารเท็จ”
มาตรา ๑๖๔ “เจ้าพนักงานเปิดเผยความรัก”
มาตรา ๑๖๕ “เจ้าพนักงานป้องกันหรือขัดขวางมิให้การเป็นไปตามกฎหมาย หรือคำสั่ง”
มาตรา ๑๖๘ “ไม่มาให้ถ้อยคำตามคำบังคับของพนักงานอัยการหรือพนักงานสอบสวน”
มาตรา ๑๖๙ “ไม่ส่งทรัพย์หรือเอกสาร ไม่ยอมสาบาน ไม่ยอมปฏิญาณ หรือไม่ยอมให้ถ้อยคำ ตามคำบังคับของพนักงานอัยการหรือพนักงานสอบสวน”
มาตรา ๑๗๐ “ไม่มาให้ถ้อยคำ หรือไม่มาเบิกความ หรือไม่ส่งทรัพย์หรือเอกสารใดตามหมาย หรือคำสั่งศาล”
มาตร ๑๗๑ “ไม่ยอมสาบาน ไม่ยอมปฏิญาณ ไม่ยอมให้ถ้อยคำหรือไม่ยอมเบิกความ”
มาตรา ๑๗๒ “แจ้งความเท็จเกี่ยวกับความผิดอายาแก่พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน หรือเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา”
มาตรา ๑๗๓ “แจ้งความแก่พนักงานสอบสวน เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจสวนคดีอาญา”
มาตรา ๑๗๔ “เหตุฉกรรจ์ของมาตรา ๑๗๒ หรือมาตรา ๑๗๓”
มาตรา ๑๘๑ “เหตุฉกรรจ์ของมาตรา ๑๗๔,๑๗๕,๑๗๗,๑๗๘ และมาตรา ๑๘๐”
มาตรา ๑๗๕ “ฟ้องเท็จในคดีอาญา”
มาตรา ๑๗๖ “ฟ้องเท็จในคดีอาญาแล้วลุแก่โทษต่อศาล”
มาตรา ๑๗๗ “เบิกความเท็จในการพิจารณาคดี”
มาตรา ๑๘๒ “เหตุยกเว้นโทษของการกระทำความผิดมาตรา ๑๗๗ (รวมทั้งมาตรา ๑๗๘)”
มาตรา ๑๘๓ “เหตุลดโทษของการกระทำความผิดตามมาตรา ๑๗๗ (รวมทั้งมาตรา ๑๗๘ มาตรา ๑๘๐)”
มาตรา ๑๗๙ “ทำพยานหลักฐานเท็จให้เชื่อว่ามีความผิดเกิดขึ้นหรือร้ายแรงกว่าที่เป็นความจริง”
มาตรา ๑๘๐ “นำสืบ หรือแสดงพยานหลักฐานเท็จในการพิจารณาคดี”
มาตรา ๑๘๓ “นำสืบ หรือแสดงพยานหลักฐานเท็จแล้วลุแก่โทษกลับแจ้งความจริงต่อศาลก่อนมีคำพิพากษา และก่อนตนถูกฟ้องในความผิดมาตรา ๑๘๐ นั้น”
มาตรา ๑๘๔ “ช่วยผู้อื่นมิให้ต้องรับโทษหรือให้รับโทษลดน้อยลง”
มาตรา ๑๙๓ “ดุลพินิจไม่ลงอำนาจของศาล “ถ้ากระทำความผิดตามมาตรา ๑๘๔ เป็นการกระทำเพื่อช่วย บิดา มารดา บุตร สามีหรือภริยาของผู้กระทำ”
มาตรา ๑๘๕ “กระทำต่อทรัพย์หรือเอกสารที่ได้ส่งไว้ต่อศาลหรือที่ศาลให้รักษาไว้ในการพิจารณาคดี”
มาตรา ๑๘๗ “กระทำต่อทรัพย์ที่ถูกยึดหรือถูกอายัด เพื่อมิให้การเป็นไปตามคำพิพากษา หรือคำสั่งของศาล”
มาตรา ๑๘๘ “กระทำต่อพินัยกรรมหรือเอกสารของผู้อื่น”
มาตรา ๑๘๙ “ช่วยผู้กระทำความผิด หรือผู้ต้องหาเพื่อไม่ให้ต้องโทษ”
มาตรา ๑๙๐ “หลบหนีที่คุมขัง”
มาตรา ๑๙๑ “ทำให้ผู้ที่ถูกคุมขังหลุดพ้นจากการคุมขัง”
มาตรา ๑๙๒ “ช่วยให้ผู้อื่นที่หล
คำที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายอาญาภาคความผิด เล่ม 2เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์กฎหมายอาญาภาคความผิดหนังสือกฎหมายอาญาภาคความผิดสรุปกฎหมายอาญาภาคความผิดกฎหมายอาญาภาคความผิดและลหุโทษคำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคความผิดกฎหมายอาญาภาคความผิด คณพลเกียรติขจร ภาค 1กฎหมายอาญา เกียรติขจร

สินค้าใกล้เคียง