ตัวแทน-นายหน้า ไผทชิต เอกจริยกร
ตัวแทน-นายหน้า-ไผทชิต-เอกจริยกร
ข้อมูลสินค้า
ราคา
380.00 361.00 บาท
ขายแล้ว
310 ชิ้น
ร้านค้า
ตัวแทน-นายหน้า ไผทชิต เอกจริยกร
ผู้แต่ง: ไผทชิต เอกจริยกร
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 17 :2565
จำนวนหน้า : 420 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786162699054

สารบัญ

ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ตัวแทน (Agency)
1. ความหมายและสาระสำคัญของสัญญาตัวแทน
1.1 ความหมาย
1.2 สาระสำคัญของสัญญาตัวแทน
1.2.1 สัญญาตัวแทนเป็นสัญญาซึ่งมีคู่สัญญา 2 ฝ่าย
ก. ตัวการ(Principal)
1. ในกรณีที่ตัวการเป็นบุคคลธรรมดา
2. ในกรณีที่ตัวการเป็นนิติบุคคล
ข.ตัวแทน (Agent)
1.2.2 วัตถุประสงค์ของสัญญาคือการที่ให้ตัวแทนมีอำนาจทำการแทนการตัวการ
2. ความแตกต่างระหว่างสัญญาตัวแทนกับสัญญาอื่นๆ
2.1 ความแตกต่างระหว่างสัญญาตัวแทนกับสัญญาจ้างแรงงาน
2.2 ความแตกต่างระหว่างสัญญาตัวแทนกับสัญญาจ้างทำของ
3. การเกิดขึ้นของตัวแทน
3.1 ตัวแทนที่ถูกแต่งตั้งโดยชัดแจ้งจากตัวการ
3.2 ตัวแทนที่ถูกแต่งตั้งโดยปริยายจากตัวการ
3.3 ตัวแทนเชิด
3.4 ตัวแทนโดยจำเป็นในเหตุฉุกเฉิน
3.5 ตัวแทนโดยการให้สัตยาบัน
1. การให้สัตยาบันคืออะไร
2. ตัวแทนโดยการให้สัตยาบันเกิดขึ้นในกี่ลักษณะ
3. การใดบ้างที่จะให้สัตยาบันได้
4. ใครบ้างที่จะให้สัตยาบันได้
5. วิธีการให้สัตยาบัน
6. เวลาที่อาจให้สัตยาบันได้
7. ผลของการให้สัตยาบัน
4. หลักเกณฑ์ในการตั้งตัวแทน
4.1 เหตุที่กฎหมายกำหนดถึงหลักเกณฑ์ในการตั้งตัวแทน
4.2 กิจการที่กฎหมายกำหนดว่าต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
4.2.1 ประเภทของกิจการที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
4.2.2 หลักฐานเป็นหนังสือคืออะไร
4.2.3 เวลาที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือในการตั้งตัวแทน
4.2.4 ผลของการตั้งตัวแทนที่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ
4.3 กิจการที่กฎหมายกำหนดว่าจะต้องทำเป็นหนังสือ
4.3.1 ประเภทของกิจการที่ต้องทำเป็นหนังสือ
4.3.2 หนังสือสัญญาตัวแทนคืออะไร
4.3.3 ผลของการตั้งตัวแทนที่ไม่ได้ทำเป็นหนังสือ
5. ประเภทของตัวแทน
5.1 พิจารณาจากวิธีการเกิดขึ้นของตัวแทน
5.2 พิจารณาจากบำเหน็จตัวแทน
5.2.1 สิทธิที่จะได้รับบำเหน็จของตัวแทน
5.2.2 จำนวนบำเหน็จที่จะได้รับ
5.2.3 เวลาที่มีสิทธิได้รับบำเหน็จ
5.2.4 การหมดสิทธิที่จะได้รับบำเหน็จ
5.3 พิจารณาจากขอบเขตอำนาจของตัวแทน
5.3.1 ตัวแทนที่ได้รับมอบอำนาจเฉพาะการ
5.3.2 ตัวแทนที่ได้รับมอบอำนาจทั่วไป
6. หน้าที่ของตัวแทนที่มีต่อตัวการ
6.1 หน้าที่ต้องกระทำการเป็นตัวแทน
6.2 หน้าที่ต้องทำตามคำสั่งของตัวการ
6.3 หน้าที่ต้องทำงานที่ได้รับมอบหมายด้วยตนเอง
6.4 หน้าที่แจ้งความเป็นไปของการที่ทำและแถลงบัญชี
6.5 หน้าที่ส่งมอบเงินและทรัพย์สินให้แก่ตัวการ
6.6 หน้าที่ทำการร่วมกันกับตัวแทนคนอื่นๆ
6.7 หน้าที่ไม่เข้าทำนิติกรรมในนามของตัวการกับตนเองหรือในหลักฐานเป็นตัวแทนของบุคคลภายนอก
7. ความรับผิดของตัวแทนต่อตัวการ
7.1 ตัวแทนประมาทเลินเล่อ
7.2 ตัวแทนไม่กระทำการเป็นตัวแทน
7.3 ตัวแทนกระทำการโดยปราศจากอำนาจ
7.4 ตัวแทนกระทำการเกินขอบเขตอำนาจ(ทำนอกทำเหนือขอบอำนาจ)
8. หน้าที่ของตัวการต่อตัวแทน
8.1 หน้าที่จ่ายเงินทดรองแก่ตัวแทน
8.2 หน้าที่ชดใช้เงินทดรองหรือเงินค่าใช้จ่ายที่ตัวแทนได้จ่ายไปโดยจำเป็น
8.3 หน้าที่จ่ายบำเหน็จตัวแทน
9. ความผูกพันและความรับผิดของตัวการต่อบุคคลภายนอก
9.1 ประเภทของความผูกพันและความรับผิด
9.1.1 ความผูกพันและความรับผิดที่เกิดจากนิติกรรมหรือสัญญา
9.1.2 ความรับผิดในเรื่องละเมิด
9.2 ความผูกพันและความรับผิดในกรณีตัวแทนเชิดและตัวแทนโดยการให้สัตยาบัน
9.2.1 ความรับผิดในกรณีตัวแทนเชิด
9.2.2 ความรับผิดในกรณีตัวแทนทำเกินขอบเขตอำนาจแต่ทางปฎิบัติของตัวการทำให้บุคคลภายนอกเชื่อว่าอยู่ในอำนาจของตัวแทน
9.2.3 ความผูกพันและความรับผิดโดยการให้สัตยาบันแก่การกระทำของตัวแทนที่ทำไปโดยปราศจากอำนาจหรือเกินขอบอำนาจ
9.3 ความผูกพันและความรับผิดในกรณีตัวการไม่เปิดเผยชื่อ
9.4 ความผูกพันในกรณีที่ตัวแทนกระทำโดยเห็นแก่อามิสสินจ้าง
10. ความผูกพันและความรับผิดของตัวแทนต่อบุคคลภายนอก
11. ความระงับของสัญญาตัวแทน
11.1 เหตุของความระงับของสัญญาตัวแทน
11.1.1 ความระงับของสัญญาตัวแทนโดยผลของสัญญา
11.1.2 ความระงับของสัญญาตัวแทนตามบทบัญญัติของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
11.2 ความระงับของสัญญาตัวแทนจะใช้ยันบุคคลต่างๆได้เพียงใด
11.2.1 ในระหว่างตัวการและตัวแทน
11.2.2 ในระหว่างตัวการหรือตัวแทนกับบุคคลภายนอก
11.3 หน้าที่ของตัวแทนหรือทายาทในกรณีที่สัญญาตัวแทนระงับ
11.3.1 หน้าที่ของตัวแทนในกรณีตัวการตาย ตกเป็นผู้ไร้ความสามารถ หรือล้มละลาย
11.3.2 หน้าที่ของทายาทหรือผู้รับหน้าที่ดูแลทรัพย์มรดก ในกรณีที่ตัวแทนตาย
11.3.3 หน้าที่คืนหนังสือมอบอำนาจ
บทที่ 2 ตัวแทนค้าต่าง (Commission Agent)
1. ความหมายและสาระสำคัญของสัญญาตัวแทนค้าต่าง
2. สิทธิ หน้าที่และความรับผิดของตัวแทนค้าต่าง
2.1 สิทธิและความรับผิดของตัวแทนค้าต่างต่อบุคคลภายนอก
2.1.1 ตัวแทนค้าต่างมีสิทธิต่อบุคคลภายนอก
2.1.2 ตัวแทนค้าต่างมีความรับผิดต่อบุคคลภายนอก
2.2 สิทธิของตัวแทนค้าต่างต่อตัวการ
2.2.1 สิทธิที่จะได้รับบำเหน็จ
2.2.2 สิทธิเข้าเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายทรัพย์สินอันมีรายการขานราคา ของสถานที่แลกเปลี่ยน
2.3 หน้าที่และความรับผิดของตัวแทนค้าต่าง
2.3.1 หน้าที่รายงานกิจการที่ได้รับมอบหมายให้ตัวการทราบ
2.3.2 หน้าที่ดูแลรักษาทรัพย์สินที่ได้รับไว้ในฐานะเป็นตัวแทนค้าต่าง
2.3.3 ความรับผิดของตัวแทนค้าต่างในกรณีที่บุคคลภายนอกไม่ชำระหนี้
3. ความผูกพันของตัวการในกิจการที่ตัวแทนค้าต่างกระทำไป
4. ความระงับของสัญญาตัวแทนค้าต่าง
บทที่ 3 นายหน้า (Brokerage)
1. บททั่วไป
1.1 มูลเหตุในสัญญานายหน้า
1.2 ความหมายและสาระสำคัญของสัญญานายหน้า
1.2.1 สัญญานายหน้าเป็นสัญญาที่มีคู่สัญญา 2 ฝ่าย
1.2.2 วัตถุประสงค์ของสัญญาคือการที่นายหน้าชี้ช่องหรือจัดการให้มีการทำสัญญา
1.2.3 บุคคลที่ตกลงจะให้บำเหน็จนายหน้า จะรับผิดใช้ค่าบำเหน็จต่อเมื่อสัญญานั้นได้ทำกันเสร็จ
2. ความระงับของสัญญานายหน้า
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
- ตัวอย่างใบมอบอำนาจ/ใบมอบฉันทะ
ดัชนีค้นคำ
หมายเหตุการพิมพ์
คำที่เกี่ยวข้อง
ไผทชิตตัวแทน นายหน้าหนังสือตัวแทนนายหน้าอินทรชิตขี้ผึ้งอินทรชิตต้นเสลาอินทรชิตยาหม่องอินทรชิตนายหน้าสัญญานายหน้าหนังสือสัญญานายหน้า

สินค้าใกล้เคียง