ไคโตซานพืช เพลี้ยไฟ ไรแดง ราน้ำค้าง แมลงรบกวน ราคาพิเศษ 336 ขวดเท่านั้น หากจำหน่ายหมดแล้วสินค้าชุดใหม่จะปรับราคาเพิ่มขึ้น
ไคโตซานพืช-เพลี้ยไฟ-ไรแดง-ราน้ำค้าง-แมลงรบกวน-ราคาพิเศษ-336-ขวดเท่านั้น-หากจำหน่ายหมดแล้วสินค้าชุดใหม่จะปรับราคาเพิ่มขึ้น
ข้อมูลสินค้า
ราคา
500.00 151.00 บาท
รีวิว
27 ครั้ง
แบรนด์
ซีอาร์-วัน(chitosan , ไคโตซาน , ซีอาร์-วัน ,ไบโอพลัส , ไคโตซานพืช ,ไคโตซานสัตว์ , ไคติเนส , ไบโอแพลนท์ , พรีไบโอติกส์)
ร้านค้า

ไคโตซาน จากธรรมชาติ 100%

ไม่มีสารพิษ ปลอดภัยต่อผู้ใช้ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ซีอาร์-วัน ไคติเนส คุณสมบัติช่วงแก้ไขปัญหาโรคพืช เชื้อรา แมลงรบกวนต้นพืช

วิธีการใช้

พืชผัก 10-20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทุกๆ 3 วัน

พืชสวน 20-40 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทุกๆ 7 วัน

พืชไร่ 40-60 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทุกๆ 15 วัน

ไม้ดอกไม้ประดับ 10-20 ซีซี ต่อน้ำ 10 ลิตร ฉีดพ่นทุกๆ 7 วัน

ใช้เคลือบเม็ดปุ๋ย 200 ซีซี ต่อปุ๋ย 30-50 ก.ก.

ช่วยให้ประหยัดปุ๋ยได้50%

ผสมน้ำฉีดพ่น 10-30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น

การผลิตไคติเนสของเชื้อราที่ทนอุณหภูมิสูงโดยวิธีการหมักในสภาพอาหารแข็งปัจจุบันวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมมีเพิ่มมากขึ้น และมีการนำมาใช้

ประโยชน์เพื่อเพิ่มมูลค่า ซึ่งเศษกุ้งที่จากอุตสาหกรรมกุ้งแช่แข็งมีจำนวนมาก แนวทางหนึ่งที่สามารถเพิ่มมูลค่าได้คือการนำมาผลิตไคตินและไคโตซานโดยมีไคติเนสเป็นเอนไซม์ย่อยสลายไคติน ซึ่งไคตินเป็นสารโพลิเมอร์ซิ่วภาพที่มีปริมาณมากรองจากเซลลูโลสและสามารถแยกได้จากเปลือกสัตว์มีปล้องเช่น กุ้ง ปู แกนปลาหมึก หรือเปลือกตัวไหม สำหรับเอนไซม์ไคติเนส เป็นเอนไซม์ที่สามารถย่อยสลายไคติน การศึกษาเพื่อหาจุลินทรีย์ที่สามารถย่อยสลายไคตินได้จะเป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถนำมาใช้เพิ่มมูลค่าเปลือกกุ้งซึ่งเป็นเศษเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมการผลิตก็ที่เป็นสินค้าหลักของประเทศได้อีกทางหนึ่งดังนั้นการศึกษานี้จึงคัดเลือกเชื้อราที่ทนอุณหภูมิสูงและสามารถผลิตไคติเนสได้บนอาหารแข็งที่มีเปลือกกุ้งหรือกระดองปูร่วมกับ lactic acid bacteria (LAB) และคัดเลือกวัสดุเหลือทิ้งทางอาหารหรือการเกษตรนำมาผสมในระบบเพื่อให้ได้ผลผลิตไคติเนสสูงสุด และเป็นการเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือทิ้งลดปริมาณขยะ พร้อมทั้งสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตไคติเนส ขั้นตอนการศึกษาเริ่มจากเก็บตัวอย่างดิน จากน้ำพุร้อนจากเชียงใหม่ ชายหาดจันทบุรี ระยอง

ชลบุรีนำมาคัดเลือกเชื้อราต่าง ๆ คัดเลือกเชื้อราที่สามารถผลิตไคติเนสในอาหาร Enzyme production meduim (EPM) แล้วทดสอบความสามารถในการผลิตไคติเนสในอาหารแข็งที่มีเปลือกกุ้งบดเปรียบเทียบกระดองปูบดหลังจากนั้นศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตไคติเนสของเชื้อราไอโซเลท SP 6 โดยเพาะเลี้ยงเชื้อราไอโซเลท SP 6 ตามสภาวะที่เหมาะสม ในอาหารแข็งเปลือกกุ้งสกัดผสมวัตถุดิบทางการเกษตรอื่นๆ เช่น ฟางข้าวโดยไม่เติม อาหารพื้นฐาน หลังจากนั้นนำมาสกัด crude enzyme เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์จากการแยกเชื้อราที่สามารถใช้ colloidal chitinเป็นแหล่งคาร์บอนจากตัวอย่างดิน สามารถแยกได้

คำที่เกี่ยวข้อง
ไคโตซานพืชนาโนไคโตซานพืชไคโตซาน สำหรับ พืชเพลี้ย ไฟ ไรแดงเพลี้ยไฟไรแดงไคโตซาน ปูแดงไคโตซานปูแดงปูแดงไคโตซานยาเพลี้ยไฟ ไรแดงกำจัด เพลี้ย ไฟ ไรแดง

สินค้าใกล้เคียง