ขมิ้นดำ 1เหง้า มีสรรพคุณทางยา หัวขมิ้นดำ เหง้าขมิ้น สมุนไพร
ขมิ้นดำ-1เหง้า-มีสรรพคุณทางยา-หัวขมิ้นดำ-เหง้าขมิ้น-สมุนไพร
ข้อมูลสินค้า
ราคา
49.00 บาท
แบรนด์
No Brand
ร้านค้า
  • หากขนาดเล็กกว่ากำหนดทางร้านจะชดเชยจำนวนให้ค่ะ
  • หัวพันธ์ของขมิ้นดำสีจะเข้มอ่อนตามฤดูกาลหรือความอ่อนแก่โปรดทำความเข้าใจก่อนสั่งงดดราม่านะคะ
  • **รับประกันสินค้าก่อนการรีวิวเท่านั้นไม่รวมการปลูกกรุณาทักแชทนะคะ
  • ไม้ล้มลุกที่มีลำต้นใต้ดิน ลักษณะเป็นแง่งหรือเหง้า เนื้อในหัวมีสีเขียวครามออกดำ หัวโตกว่าขมิ้นชัน
  • ใบ เป็นใบเดี่ยว ลักษณะใบรีใบหอกแกมรูปขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลมหรือยาวคล้ายหาง โคนใบสอบเรียว แผ่นใบมีขนเล็กๆ กระจายอยู่ทั่วไป ถ้าใช้มือลูกดูจะรู้สึกได้ เส้นกลางใบมีสีแดงเข้มออกน้ำตาลไหม้ตลอดเรื่อยไปจนถึงปลายใบ โดยแตกออกตามแนวเส้นแขนงใบ กาบใบมีสีน้ำตาลออกแดงเข้ม ซ้อนกันเป็นชั้นๆ จากโคนถึงปลาย
  • ดอก ออกดอกเป็นช่อ ช่อดอกโผล่ขึ้นมาจากใจกลางของกลุ่มใบ ช่อดอกมีรูปร่างแบบทรงกระบอกหรือรูปกรวย ใบประดับมีสีเขียวอ่อนๆ หรือสีขาว ปลายช่อดอกจะมีสีชมพูอ่อนจัดเรียงซ้อนกันอย่างเป็นระเบียบ กลีบรองกลีบดอกจะเชื่อมติดกันเป็นรูปท่อ มีขน กลีบดอกมีสีขาว ตรงโคนเชื่อมติดกันเป็นท่อยาว
  • นิเวศวิทยา
  • ขึ้นตามป่าดิบเขาทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะทางภาคเหนือ เช่น จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นพืชที่ชอบอากาศค่อนข้างร้อนและต้องการความชื้นสูง ชอบดินร่วนซุย มีระบบการระบายน้ำที่ดี เช่นเดียวกันกับขมิ้นชัน
  • การปลูกและขยายพันธุ์
  • นิยมปลูกลงดินมากกว่าปลูกในกระถาง แต่ต้องเป็นดินสีดำปลูกเพราะจะทำให้ได้หัวขมิ้นดำมากขึ้น ถ้าใช้ดินธรรมดาปลูกหัวจะออกสีเทา ขยายพันธุ์ด้วยเหง้าหัวหรือการแยกหน่อ
  • ประโยชน์ทางยา
  • รสและสรรพคุณในตำรายา
  • เหง้าหัว รสเฝื่อน ใช้เป็นยาขับไล่พยาธิทั้งมวล ในสมัยโบราณวงการแพทย์แผนโบราณ (แพทย์แผนไทย) ใช้กันอย่างกว้างขวาง โดยใช้แก้โรคกษัยต่างๆ แก้โรคลำไส้ แก้บิดมีเชื้อ นอกจากนี้ยังเป็นยารักษาโรคกระเพาะซึม ใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง ลงท้อง จุกเสียด เป็นยาถ่ายพยาธิเส้นด้าย และใช้เป็นยาขับถ่ายพยาธิร้ายทั้งมวลให้ออกไปจากร่างกาย

หากขนาดเล็กกว่ากำหนดทางร้านจะชดเชยจำนวนให้ค่ะ

หัวพันธ์ของขมิ้นดำสีจะเข้มอ่อนตามฤดูกาลหรือความอ่อนแก่โปรดทำความเข้าใจก่อนสั่งงดดราม่านะคะ

**รับประกันสินค้าก่อนการรีวิวเท่านั้นไม่รวมการปลูกกรุณาทักแชทนะคะ

ไม้ล้มลุกที่มีลำต้นใต้ดิน ลักษณะเป็นแง่งหรือเหง้า เนื้อในหัวมีสีเขียวครามออกดำ หัวโตกว่าขมิ้นชัน

ใบ เป็นใบเดี่ยว ลักษณะใบรีใบหอกแกมรูปขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลมหรือยาวคล้ายหาง โคนใบสอบเรียว แผ่นใบมีขนเล็กๆ กระจายอยู่ทั่วไป ถ้าใช้มือลูกดูจะรู้สึกได้ เส้นกลางใบมีสีแดงเข้มออกน้ำตาลไหม้ตลอดเรื่อยไปจนถึงปลายใบ โดยแตกออกตามแนวเส้นแขนงใบ กาบใบมีสีน้ำตาลออกแดงเข้ม ซ้อนกันเป็นชั้นๆ จากโคนถึงปลาย

ดอก ออกดอกเป็นช่อ ช่อดอกโผล่ขึ้นมาจากใจกลางของกลุ่มใบ ช่อดอกมีรูปร่างแบบทรงกระบอกหรือรูปกรวย ใบประดับมีสีเขียวอ่อนๆ หรือสีขาว ปลายช่อดอกจะมีสีชมพูอ่อนจัดเรียงซ้อนกันอย่างเป็นระเบียบ กลีบรองกลีบดอกจะเชื่อมติดกันเป็นรูปท่อ มีขน กลีบดอกมีสีขาว ตรงโคนเชื่อมติดกันเป็นท่อยาว

นิเวศวิทยา

ขึ้นตามป่าดิบเขาทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะทางภาคเหนือ เช่น จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นพืชที่ชอบอากาศค่อนข้างร้อนและต้องการความชื้นสูง ชอบดินร่วนซุย มีระบบการระบายน้ำที่ดี เช่นเดียวกันกับขมิ้นชัน

การปลูกและขยายพันธุ์

นิยมปลูกลงดินมากกว่าปลูกในกระถาง แต่ต้องเป็นดินสีดำปลูกเพราะจะทำให้ได้หัวขมิ้นดำมากขึ้น ถ้าใช้ดินธรรมดาปลูกหัวจะออกสีเทา ขยายพันธุ์ด้วยเหง้าหัวหรือการแยกหน่อ

ประโยชน์ทางยา

รสและสรรพคุณในตำรายา

เหง้าหัว รสเฝื่อน ใช้เป็นยาขับไล่พยาธิทั้งมวล ในสมัยโบราณวงการแพทย์แผนโบราณ (แพทย์แผนไทย) ใช้กันอย่างกว้างขวาง โดยใช้แก้โรคกษัยต่างๆ แก้โรคลำไส้ แก้บิดมีเชื้อ นอกจากนี้ยังเป็นยารักษาโรคกระเพาะซึม ใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง ลงท้อง จุกเสียด เป็นยาถ่ายพยาธิเส้นด้าย และใช้เป็นยาขับถ่ายพยาธิร้ายทั้งมวลให้ออกไปจากร่างกาย

คำที่เกี่ยวข้อง
ขมิ้นดำต้นขมิ้นดำโสมขมิ้นดำขมิ้นดำสดครีมโสมขมิ้นดำขมิ้นพริกไทยดำสมุนไพรขมิ้นครีมขมิ้นสมุนไพรโสมขมิ้นดำเฌอริตาหัวขมิ้น

สินค้าใกล้เคียง