แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ-ฉบับที่-9
ข้อมูลสินค้า
ราคา
55.00 35.00 บาท
แบรนด์
สูตรไพศาล
ร้านค้า

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549)

การจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 ได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันของสังคมไทย ใน 20 ปีข้างหน้า โดยนำความคิดของทุกภาคส่วนในสังคมทุกระดับ ตั้งแต่ระดับจังหวัด ระดับอนุภาค และระดับชาติ มาสังเคราะห์เชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบให้เกิดเป็น "วิสัยทัศน์ร่วม" ที่สังคมไทยยอมรับร่วมกัน โดยคำนึงถึงภาพรวมการพัฒนาที่ผ่านมา สถานการณ์และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงต่างๆทั้งภายในและภายนอกประเทศ เพื่อนำไปสู่สังคมไทยที่พึงประสงค์ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและสร้างคุณค่าที่ดีให้เกิดขึ้นในสังคมไทย

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 จึงเป็นแผนยุทธศาสตร์ที่ชี้กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะปานกลาง ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ระยะยาวและมีการดำเนินการต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 ในด้านแนวคิดที่ยึด "คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา" ในทุกมิติอย่างเป็นองค์รวม และให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่สมดุล ทั้งด้านตัวคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างระบบบริหารจัดการภายในที่ดีให้เกิดขึ้นในทุกระดับ อันจะทำให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนที่มี "คน" เป็นศูนย์กลางได้อย่างแท้จริง

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง :
พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2543
รัฐธรรมนูญ ฯ ส่วนที่เกี่ยวข้อง
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

สารบัญ

            ประกาศ เรื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549)

            สรุปสาระสำคัญ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9

 

ความนำ

                        วิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ

            วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

            ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

            ลำดับความสำคัญของการพัฒนา       

                        การเร่งฟื้นฟู

                        การสร้างความเข้มแข็ง

                        การบรรเทาปัญหาสังคม         

                        การแก้ปัญหาความยากจน

            การบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ

                        เริ่มจากกระบวนการสร้างความเข้าใจ

                        ต้องมีการบริหารยุทธศาสตร์

                        เร่งปรับปรุงกลไกและบทบาท

                        ภาครัฐต้องสร้างการมีส่วนร่วม

           

พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2543

            นิยาม  ศัพท์กฎหมาย

            หมวด 1 สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

            หมวด 2 อำนาจหน้าที่

            หมวด 3 การดำเนินงาน

                        บทเฉพาะกาล

-          บัญชีกลุ่มในภาคเศรษฐกิจ

 

พร้อมด้วย  :

            พระราชกฤษฎีกาเบี้ยประชุมและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2544

            รัฐธรรมนูญ  ในส่วนที่เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

            พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2537

คำที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแนวข้อสอบ นักพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการหนังสือการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมนิติกร กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการพัฒนาสังคมพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เสื้อกั๊ก พัฒนาสังคมปรัชญาการเมืองเศรษฐกิจสังคมแผนพัฒนาตนเอง

สินค้าใกล้เคียง