กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.๑๒๗ (ที่มาของประมวลกฎหมายอาญา)
กฎหมายลักษณะอาญา-ร-ศ-๑๒๗-ที่มาของประมวลกฎหมายอาญา
ข้อมูลสินค้า
ราคา
360.00 329.00 บาท
แบรนด์
สูตรไพศาล
ร้านค้า

ประกอบด้วย

(๑) กฎหมายลักษณะอาญา (ฉบับที่ ๑ - ๑๖) พ.ศ. ๒๔๕๑ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๙
(๒) อรรถนัยกำกับเทียบกฎหมายปัจจุบัน
(๓) ประกาศเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย
(๔) คำสั่งนายกรัฐมนตรี
(๕) อุเทศกฎหมายลักษณะอาญา
(๖) บัญชีการเปรียบเทียบประมวลกฎหมายอาญา
กับกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗ และ
(๗) บัญชีบทมาตราในกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.๑๒๗
ซึ่งประมวลกฎหมายอาญามิได้บัญญัติไว้
สารบัญ
กฎหมายลักษณะอาญา (ตัวอักษรยึดถือตามต้นฉบับ)
    มาตรา - หน้า
ภาคที่ ๑ ว่าด้วยข้อบังคับต่าง ๆ
หมวดที่ ๑ คำอธิบาย ๕ ๙
หมวดที่ ๒ ว่าด้วยการใช้กฎหมายลักษณะอาญา ๗ ๑๒
หมวดที่ ๓ ว่าด้วยอาญาและการลงอาญา ๑๒ ๑๔
หมวดที่ ๔ ว่าด้วยเหตุอันควรยกเว้นอาญาหรือลดหย่อนผ่อนอาญาให้แก่บุคคลผู้กระทำผิด ๔๓ ๒๓
หมวดที่ ๕ ว่าด้วยพยายามกระทำความผิด ๖๐ ๓๑
หมวดที่ ๖ ว่าด้วยบุคคลหลายคนทำความผิดอย่างเดียวกัน ๖๓ ๓๑
หมวดที่ ๗ ว่าด้วยคนๆ เดียวกระทำผิดหลายอย่าง ๗๐ ๓๓
หมวดที่ ๘ ว่าด้วยผู้กระทำผิดหลายครั้งไม่เข็ดหลาบ ๗๒ ๓๔
หมวดที่ ๙ ว่าด้วยกำหนดเวลาที่จะฟ้องความและที่จะลงโทษในคดีอาญา ๗๘ ๓๗
หมวดที่ ๑๐ ว่าด้วยการร้องขอทรัพย์คืนและขอค่าเสียหาย ๘๗ ๔๐
ภาค ๒ ว่าด้วยลักษณะความผิด
ส่วนที่ ๑ ว่าด้วยความผิดประทุษร้ายต่อพระเจ้าอยู่หัวและพระราชอาณาจักร
หมวดที่ ๑ ความผิดฐานประทุษร้ายต่อพระบรมราชตระกูล ๙๗ ๔๕
หมวดที่ ๑ ทวิ ความผิดฐานประทุษร้ายต่อนายกรัฐมนตรี ๙๘ ๔๖
หมวดที่ ๒ ความผิดฐานขบถภายในราชอาณาจักร ๑๐๑ ๔๗
หมวดที่ ๓ ความผิดฐานขบถภายนอกราชอาณาจักร ๑๐๕ ๕๐
หมวดที่ ๔ ความผิดฐานพระราชไมตรีกับต่างประเทศ ๑๑๒ ๕๔
ส่วนที่ ๒ ว่าด้วยความผิดอันเกี่ยวกับการปกครองบ้านเมือง
หมวดที่ ๑ ความผิดต่อเจ้าพนักงาน ๑๑๖ ๕๖
หมวดที่ ๒ ความผิดฐานใช้อำนาจและตำแหน่งหน้าที่ในทางทุจริต ๑๒๙ ๖๐
ส่วนที่ ๓ ว่าด้วยความผิดที่กระทำให้เสื่อมเสียความยุติธรรม
หมวดที่ ๑ ความผิดฐานกระทำให้เสื่อมเสียอำนาจศาล ๑๔๗ ๖๘
หมวดที่ ๒ ความผิดฐานฟ้องเท็จและเบิกความเท็จ ๑๕๕ ๗๑
หมวดที่ ๓ ความผิดฐานหลบหนีจากที่คุมขัง ๑๖๓ ๗๕
ส่วนที่ ๔ ว่าด้วยความผิดต่อศาสนา ๑๗๒ ๗๘
ส่วนที่ ๕ ว่าด้วยความผิดที่กระทำให้เกิดภยันตรายแก่บุคคลและทรัพย์สิน
หมวดที่ ๑ ความผิดฐานใช้ผู้อื่นกระทำผิด ๑๗๔ ๗๙
หมวดที่ ๒ ความผิดฐานสมคบกันเป็นอั้งยี่หรือเป็นส้องโจรผู้ร้าย ๑๗๗ ๘๐
หมวดที่ ๓ ความผิดฐานก่อการจลาจล ๑๘๓ ๘๒
หมวดที่ ๔ ความผิดฐานกระทำให้เกิดภยันตรายแก่สาธารณชนฐานกระทำให้สาธารณชนปราศจากความสะดวกในการไปมาและการส่งข่าวและของถึงกันและฐานกระทำให้สาธารณชนปราศจากความสุขสบาย ๑๘๕ ๘๓
หมวดที่ ๕ ความผิดฐานปลอมแปลงเงินตรา ๒๐๒ ๙๐
หมวดที่ ๖ ความผิดฐานปลอมดวงตรา ปลอมบัตรตราและปลอมตั๋ว ๒๑๑ ๙๓
หมวดที่ ๗ ความผิดฐานปลอมหนังสือ ๒๒๒ ๙๗
หมวดที่ ๘ ความผิดฐานกระทำทุจจริตในทางการค้า ๒๓๒ ๑๐๐
ส่วนที่ ๖ ว่าด้วยความผิดกระทำอนาจาร
หมวดที่ ๑ ความผิดฐานกระทำอนาจารอันเกี่ยวแก่สาธารณชน ๒๔๐ ๑๐๓
หมวดที่ ๒ ความผิดฐานข่มขืนทำชำเรา ๒๔๓ ๑๐๔
ส่วนที่ ๗ ว่าด้วยความผิดประทุษร้ายแก่ชีวิตและร่างกาย
หมวดที่ ๑ ความผิดฐานประทุษร้ายแก่ชีวิต ๒๔๙ ๑๐๗
หมวดที่ ๒ ความผิดฐานประทุษร้ายแก่ร่างกาย ๒๕๔ ๑๐๙
หมวดที่ ๓ ความผิดฐานรีดลูก ๒๖๐ ๑๑๑
หมวดที่ ๔ ความผิดฐานละทิ้งเด็ก และละทิ้งคนเจ็บ คนชรา ๒๖๕ ๑๑๒
ส่วนที่ ๘ ว่าด้วยความผิดที่กระทำให้เสื่อมเสียอิสสระภาพและชื่อเสียง
หมวดที่ ๑ ความผิดฐานกระทำให้เสื่อมเสียอิสสระภาพ ๒๖๘ ๑๑๔
หมวดที่ ๒ ความผิดฐานเปิดเผยความลับสำหรับตัวของผู้อื่น ๒๗๙ ๑๒๐
หมวดที่ ๓ ความผิดฐานหมิ่นประมาท ๒๘๒ ๑๒๑
ส่วนที่ ๙ ว่าด้วยความผิดที่ประทุษร้ายแก่ทรัพย์
หมวดที่ ๑ ความผิดฐานลักทรัพย์ ๒๘๘ ๑๒๔
หมวดที่ ๒ ความผิดฐานวิ่งราว ฐานชิงทรัพย์ ฐานปล้นทรัพย์ และฐานสลัด ๒๙๗ ๑๒๘
หมวดที่ ๓ ความผิดฐานกรรโชก ๓๐๓ ๑๓๐
หมวดที่ ๔ ความผิดฐานฉ้อโกง ๓๐๔ ๑๓๑
หมวดที่ ๕ ความผิดฐานยักยอกทรัพย์อันต้องอาญา ๓๑๔ ๑๓๕
หมวดที่ ๖ ความผิดฐานรับของโจร ๓๒๑ ๑๓๗
หมวดที่ ๗ ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ๓๒๔ ๑๓๘
หมวดที่ ๘ ความผิดฐานบุกรุก ๓๒๗ ๑๓๙
ส่วนที่ ๑๐ ว่าด้วยความผิดที่เป็นลหุโทษ
ส่วนที่ ๑๑ ความผิดอันเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วน บริษัท สมาคม มูลนิธิ
ตารางเปรียบเทียบประมวลกฎหมายอาญากับกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗   ๑๖๙

คำที่เกี่ยวข้อง
ประมวลกฎหมายอาญาหนังสือ ประมวลกฎหมายอาญาหนังสือประมวลกฎหมายอาญาประมวลกฎหมายอาญา แพ่งประมวลกฎหมายอาญา 2566ประมวลกฎหมายอาญา เล็กประมวลกฎหมายอาญา 66ประมวลกฎหมายอาญา อ้างอิงประมวลกฎหมายอาญา กายวิภาคคำอธิบายประมวลกฎหมายอาญา

สินค้าใกล้เคียง