หนังสืออำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ นพดล พลกูล
หนังสืออำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ-นพดล-พลกูล
ข้อมูลสินค้า
ราคา
230.00 207.00 บาท
ขายแล้ว
16 ชิ้น
ร้านค้า
อำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ นพดล พลกูล
ผู้แต่ง : นพดล พลกูล
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 1 : ตุลาคม 2560
จำนวนหน้า: 296 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
9789742036843

สารบัญ

บทที่ 1 องค์กรอัยการสากล
1.1 วิวัฒนาการขององค์กรอัยการสากล
1.2 องค์กรอัยการสากลในปัจจุบัน
1.2.1 องค์กรอัยการในประเทศที่ใช้ระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law)
1.2.2 องค์กรในประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Common Law)
บทสรุป
บทที่ 2 องค์กรอัยการไทย
2.1 วิวัฒนาการขององค์กรอัยการไทย
2.2 ลักษณะขององค์กรอัยการไทย
2.3 รูปแบบขององค์กรอัยการไทย
บทสรุป
บทที่ 3 อำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการในพระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ.2553
3.1 ความหมายขององค์กรอัยการและพนักงานอัยการ
3.1.1 องค์กรอัยการ (The public prosecution organization)
3.1.2 พนักงานอัยการ (Public prosecutor)
3.2 เขตอำนาจในการดำเนินคดีของพนักงานอัยการ
3.3 อำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ
3.3.1 อำนาจและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ
3.3.2 อำนาจหน้าที่ในการดำเนินคดีอาญา
3.3.3 อำนาจหน้าที่ในการดำเนินคดีแพ่งหรือคดีปกครองในศาลหรือกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ
3.3.4 อำนาจหน้าที่ในทางแก้ต่างคดีแพ่ง คดีปกครอง หรือคดีอาญาซึ่งเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือราษฎรซึ่งกระทำตามคำสั่งของเจ้าหน้าที่ของรัฐถูกฟ้อง
3.3.5 อำนาจหน้าที่ในการรับว่าต่างหรือแก้ต่างในคดีแพ่ง คดีปกครองหรือดำเนินการทางอนุญาโตตุลาการ ให้แก่หน่วยงานของรัฐนอกจากที่กล่าวในข้อ 3.3 หรือนิติบุคคลอื่นที่มิใช่หน่วยงานของรัฐ
3.3.5.1 หน่วยงานของรัฐซึ่งมีฐานะอื่นนอกเหนือจากที่ได้กล่าวใน ข้อ 3.3.3
3.3.5.2 นิติบุคคลซึ่งมิใช่หน่วยงานของรัฐ แต่ได้มีพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งขึ้น
3.3.6 อำนาจหน้าที่ในการฟ้องคดีที่ราษฎรฟ้องเองไม่ได้โดยกฎหมายห้าม
3.3.7 อำนาจหน้าที่ในการบังคับคดีอาญาเฉพาะในส่วนของการยึดทรัพย์สินใช้ค่าปรับ
3.3.8 อำนาจหน้าที่ในการบังคับให้เป็นไปตามสัญญาประกันจำเลยหรือประกันรับสิ่งของไปดูแลรักษา
3.3.8.1 การประกันตัวบุคคลซึ่งเป็นจำเลยในคดีอาญา
3.3.8.2 การประกันสิ่งของที่ถูกเจ้าพนักงานยึดไว้ซึ่งไม่ใช่ทรัพย์สินที่กฎหมายบัญญัติไว้ว่าผู้ใดทำหรือมีไว้เป็นความผิด
3.3.9 อำนาจหน้าที่อื่นตามที่ ก.อ.ประกาศกำหนดหรือเห็นชอบเพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรี
3.3.10 อำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจและหน้าที่ของพนักงานอัยการ
3.3.11 อำนาจหน้าที่อื่นตามที่กำหนดให้เป็นหน้าที่ของสำนักงานอัยการสูงสุด ตามที่ได้รับมอบหมายจากอัยการสูงสุด
บทสรุป
บทที่ 4 อำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการในกฎหมายวิธีบัญญัติ
4.1 อำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
4.1.1 การเป็นพนักงานสอบสวน
4.1.2 การชี้ขาดอำนาจของพนักงานสอบสวน
4.1.3 การเป็นโจทก์ฟ้องคดีอาญา
4.1.4 การขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับผู้เสียหาย
4.1.5 การขอให้ศาลสั่งให้ผู้เสียหายกระทำหรือละเว้นกระทำการให้เสียหาย
4.1.6 การยื่นฟ้องคดีใหม่เมื่อผู้เสียหายถอนฟ้อง
4.1.7 การเรียกทรัพย์สินหรือราคาแทนผู้เสียหาย
4.1.8 การติดตามพยานโจทก์มาศาลตามกำหนดนัด
4.1.9 การขอให้ศาลออกกฎหมายปล่อยผู้ต้องหา
4.1.10 การคืนสิ่งของที่ยึดไว้ในคดี
4.1.11 การฝากขังผู้ต้องหาต่อศาล
4.1.12 การไต่สวนทางจอภาพ
4.1.13 การขอให้ขังผู้ต้องหาและจำเลยไว้ในสถานที่อื่นซึ่งไม่ใช่เรือนจำ
4.1.14 การขอให้จำคุกผู้ซึ่งต้องจำคุกไว้ในสถานที่อื่นซึ่งไม่ใช่เรือนจำ
4.1.15 การขอให้ศาลปล่อยบุคคลที่ถูกคุมขังโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
4.1.16 การปล่อยผู้ต้องหาชั่วคราว
4.1.17 การคัดค้านการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาตามคำร้องขอของพยาน
4.1.18 การใช้หลักประกันต่อเนื่อง
4.1.19 การเข้าร่วมคุ้มครองเด็กในการจดบันทึกคำร้องทุกข์การถามปากคำผู้เสียหายหรือพยาน การชี้ตัวและการสอบสวนผู้ต้องหาซึ่งเป็นเด็กอายุไมเกินสิบแปด
4.1.20 การฟ้องคดีความผิดต่อแผ่นดินซึ่งได้ถอนคำร้องทุกข์ไปแล้ว
4.1.21 การสั่งให้งดการสอบสวนหรือสั่งให้สอบสวนต่อไปกรณีไม่ปรากฏว่าผู้ใดกระทำความผิด
4.1.22 การสั่งฟ้อง สั่งไม่ฟ้อง หรือสั่งให้สอบสวนเพิ่มเติมกรณีรู้ตัวผู้กระทำความผิด
4.1.23 การสั่งฟ้องหรือสั่งไม่ฟ้องในคดีวิสามัญฆาตกรรมมาตรา 143 วรรคสาม
4.1.24 การสั่งให้เปรียบเทียบปรับ
4.1.25 การชี้ขาดความเห็นแย้งของอัยการสูงสุด
4.1.26 การดำเนินการสำหรับสำนวนคดีชันสูตรพลิกศพ
4.1.27 การดำเนินการสำหรับสำนวนคดีวิสามัญฆาตกรรม
4.1.28 การไต่สวนมูลฟ้อง
4.1.29 การฟ้องคดีที่ศาลได้พิพากษายกฟ้องเนื่องจากโจทก์ขาดนัด
4.1.30 การรับรองให้โจทก์อุทธรณ์หรือฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
4.1.31 การสืบพยานไว้ก่อน
4.1.32 การขอให้พิสูจน์พยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ไว้ก่อน
4.1.33 การขอให้ทุเลาการจำคุกไว้ก่อน
4.2 อำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
4.3 อำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ. 2499
4.3.1 การขอผัดฟ้องผู้ต้องหา
4.3.2 การฝากขังผู้ต้องหา
4.3.3 การขออนุญาตฟ้องผู้ต้องหา
4.3.4 การชี้ขาดความเห็นแย้งของอัยการสูงสุด
4.3.5 การฟ้องด้วยวาจา
4.3.6 การยื่นฟ้องในกรณีที่ผู้ต้องหาให้การรับสารภาพ
4.3.7 การรับรองให้โจทก์อุทธรณ์ในปัญหาเท็จจริง
4.4 อำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553
4.4.1 การฟ้องคดีเด็กหรือเยาวชนซึ่งอยู่ในเกณฑ์ต้องดำเนินการตามกฎหมาย ว่าด้วยการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติ
4.4.2 การชี้แจงเหตุจำเป็นที่ต้องควบคุมหรือคุมขังเด็กและเยาวชน
4.4.3 การดำเนินการกรณีเด็กมีอายุไม่เกินสิบปีบริบูรณ์กระทำความผิด
4.4.4 การฟ้องเด็กหรือเยาวชนให้ทันภายในเวลาที่กำหนด
4.4.5 การขออนุญาตฟ้องจากอัยการสูงสุด
4.4.6 การพิจารณาแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กหรือเยาวชน
4.4.7 การมีคำสั่งหลังจากปฏิบัติตามแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟูแล้ว
4.4.8 การเข้าร่วมประชุมเพื่อจัดทำแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟูตามที่ศาลสั่งให้จัดทำขึ้น
4.4.9 การปฏิบัติหน้าที
คำที่เกี่ยวข้อง
นพดลนพดลเฟอร์นิเจอร์นพดลอะไหล่นพดลการแว่นนพดล เนตรดีนพดลพานิชหนังสือหน้าที่พลเมืองหนอนหนังสือยึดอำนาจอาชีพพนักงานอัยการหนังสือเรียนหน้าที่พลเมือง

สินค้าใกล้เคียง