Appsofttech PIC Works Examples and C Source Code Book
appsofttech-pic-works-examples-and-c-source-code-book
ข้อมูลสินค้า
ราคา
320.00 บาท
ขายแล้ว
5 ชิ้น
แบรนด์
Appsofttech(แอพซอฟท์เทค)
ร้านค้า
ผู้แต่ง : ประจิน พลังสันติกุล

ISBN : 978-974-94645-7-5

สารบัญ

บทที่ 1. ภาษา C สำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์ PIC
ตัวอย่างที่ 1.1 โปรแกรม EX_PIC-C.c
บทที่ 2. การใช้งาน CCS C คอมไพเลอร์
ตัวอย่างที่ 2.1 โปรแกรม EX_LED.c

บทที่ 3. พอร์ตไมโครคอนโทรลเลอร์ PIC
การทดลองที่ 3.1 ติดดับ LED 1 ดวง
การทดลองที่ 3.2 แสดงเลขฐานสองด้วย LED
การทดลองที่ 3.3 ไฟวิ่งชนกันไปกลับแสดงด้วย LED 8 ดวง
การทดลองที่ 3.4 เปิด/ปิด LED ด้วยสวิตช์ 1 ปุ่ม
การทดลองที่ 3.5 เปิด/ปิด LED ด้วยสวิตช์ 2 ปุ่ม
การทดลองที่ 3.6 เปิด/ปิด LED ด้วยสวิตช์ 2 ปุ่มเวอร์ชัน 2
การทดลองที่ 3.7 เปิด/ปิด LED ด้วยสวิตช์ 2 ปุ่มเวอร์ชัน 3

บทที่ 4. LED ตัวเลข 7 ส่วน (LED 7-Segments)
การทดลองที่ 4.1 การใช้งาน LED ตัวเลข 7 ส่วน
การทดลองที่ 4.2 การใช้งาน LED ตัวเลข 7 ส่วน 2 หลักแบบมัลติเพล็กซ์

บทที่ 5. โมดูล LCD (Liquid Crystal Display module)
การทดลองที่ 5.1 LCD Display
การทดลองที่ 5.2 สร้างอักขระพิเศษบนโมดูล LCD

บทที่ 6. การควบคุมมอเตอร์ (Motor control)
การทดลองที่ 6.1 การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
การทดลองที่ 6.2 การควบคุมสเต็ปเปอร์มอเตอร์
การทดลองที่ 6.3 การควบคุมเซอร์โวมอเตอร์

บทที่ 7. การสแกนคีย์บอร์ด (Key Board Scan)
การทดลองที่ 7.1 พื้นฐานการสแกนคีย์สวิตช์เมตริกซ์
การทดลองที่ 7.2 การสแกนคีย์สวิตช์เมตริกซ์แสดงผล LED ตัวเลข 7 ส่วน
การทดลองที่ 7.3 การสแกนคีย์สวิตช์เมตริกซ์แสดงผลบนโมดูล LCD

บทที่ 8. การอินเตอร์รัปต์เนื่องจากสัญญาณภายนอก
การทดลองที่ 8.1 การอินเตอร์รัปต์เนื่องจากสัญญาณภายนอก
การทดลองที่ 8.2 อินเตอร์รัปต์เนื่องจากการเปลี่ยนสัญญาณที่ขาพอร์ต

บทที่ 9. ไทเมอร์/เคาน์เตอร์และวอตช์ด็อกไทเมอร์
การทดลองที่ 9.1 ติดดับ LED 1 ดวงด้วยไทเมอร์ 0
การทดลองที่ 9.2 ติดดับ LED 1 ดวงด้วยไทเมอร์ 1
การทดลองที่ 9.3 ติดดับ LED 1 ดวงด้วยไทเมอร์ 2
การทดลองที่ 9.4 การทำงานของไทเมอร์ 0 ในโหมดการนับ
การทดลองที่ 9.5 การทำงานของไทเมอร์ 1 ในโหมดการนับ
การทดลองที่ 9.6 วอตช์ด็อกไทเมอร์ (WDT)
การทดลองที่ 9.7 เปิด/ปิด LED ด้วยสวิตช์ 2 ปุ่มควบคุมติดดับ 1 ดวง

บทที่ 10. โมดูล Capture/Compare/PWM
การทดลองที่ 10.1 การใช้งานโมดูล Input Capture
การทดลองที่ 10.2 การใช้งานโมดูล Output Compare
การทดลองที่ 10.3 การใช้งานโมดูล PWM

บทที่ 11. โมดูลแปลงสัญญาณอะนาลอกเป็นดิจิตอล
การทดลองที่ 11.1 การใช้งานโมดูล ADC

บทที่ 12. โมดูลเปรียบเทียบแรงดันและสร้างแรงดันอ้างอิง
การทดลองที่ 12.1 การใช้งานโมดูล Comparator
การทดลองที่ 12.2 การใช้งานโมดูล Comparator Voltage Reference

บทที่ 13. หน่วยความจำไมโครคอนโทรลเลอร์ PIC
การทดลองที่ 13.1 การใช้งานหน่วยความจำ EEPROM
การทดลองที่ 13.2 การใช้งานหน่วยความจำ FLASH

บทที่ 14. โมดูล USART (RS-232 Port)
การทดลองที่ 14.1 การใช้งานโมดูล USART แบบโพลลิ่ง
การทดลองที่ 14.2 การใช้งานโมดูล USART แบบอินเตอร์รัปต์

บทที่ 15. ระบบ I2C บัสและ SPI บัส
การทดลองที่ 15.1 บัส I2C กับไอซี PCF8574A(I/O 8 bit)
การทดลองที่ 15.2 บัส I2C กับไอซี DS1307(Real Time Clock)
การทดลองที่ 15.3 บัส I2C กับไอซี 24LC16(Serial EEPROM)
การทดลองที่ 15.4 ระบบบัส 3 สายกับไอซี MC14489B

บทที่ 16. ระบบบัส 1 สาย
การทดลองที่ 16.1 การใช้งานระบบบัส 1 สายกับ DS18x20
การทดลองที่ 16.2 การใช้งานระบบบัส 1 สายกับ iButton (DS1990A)

บทที่ 17 การควบคุมไมโครคอนโทรลเลอร์ PIC ผ่านทางพอร์ตอนุกรม
การทดลองที่ 17.1 ควบคุมผ่าน HyperTerminal
การทดลองที่ 17.2 ควบคุมผ่าน Visual BASIC

บทที่ 18 การสร้างตัวเลขสุ่ม
การทดลองที่ 18.1 การสร้างเลขสุ่ม

บทที่ 19 การสร้างบัพเฟอร์เก็บข้อมูลขนาดใหญ่สำหรับ UART
การทดลองที่ 19.1 การบัพเฟอร์สำหรับเก็บข้อมูล UART

บทที่ 20 การแสดงตัวอักษรเคลื่อนไหวบนโมดูล LCD
การทดลองที่ 20.1 การแสดงอักษรเคลื่อนไหวบนโมดูล LCD

บทที่ 21 เชื่อมต่อ PIC 2 ตัวผ่านระบบบัส I2C
การทดลองที่ 21.1 โปรแกรม PIC Master
การทดลองที่ 21.2 โปรแกรม PIC Slave

บทที่ 22 การสร้างแรงดันอะนาลอกด้วยไอซี PCF8591
การทดลองที่ 22.1 การสร้างแรงดันอะนาลอกด้วย PCF8591
คำที่เกี่ยวข้อง
you and me and metomorrow and tomorrow and tomorrowhead and shoulders clean and balancevans andjohnson andgrizzly andniko andbits andhead anddaddy and

สินค้าใกล้เคียง