พยานในคดีอาญา หนังสือที่ทนายความและอัยการทุกคนต้องอ่าน
พยานในคดีอาญา-หนังสือที่ทนายความและอัยการทุกคนต้องอ่าน
ข้อมูลสินค้า
ราคา
200.00 180.00 บาท
ขายแล้ว
57 ชิ้น
ร้านค้า
พยานในคดีอาญา รชฏ เจริญฉ่ำ
หนังสือที่ทนายความและอัยการทุกคนต้องอ่าน
ผู้เขียน : รชฏ เจริญฉ่ำ (อดีตอัยการอาวุโส)
ปีที่พิมพ์ : 2564
จำนวน : 464 หน้า
ขนาด : 14.5 x 21 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786162604744

ความเบื้องต้น
ตอนที่ 1 ข้อเท็จจริงในคดีอาญา
บทที่ 1 ข้อเท็จจริงที่จะต้องแสวงหาหรือนำสืบในคดีอาญา
(1) การแสวงหาข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวน
(2) การแสวงหาข้อเท็จจริงในชั้นศาล
บทที่ 2 ข้อเท็จจริงที่ไม่ต้องนำสืบ
(1) ข้อเท็จจริงซึ่งเป็นที่รู้กันอยู่ทั่วไป
ก. สิ่งธรรมดาสิ่งธรรมชาติ
ข. กิจการความเป็นไปของบ้านเมือง
ค. ธรรมเนียมประเพณี
ง. ถ้อยคำภาษาไทย
จ. สิ่งที่เป็นประวัติศาสตร์
(2) ข้อเท็จจริงซึ่งไม่อาจจะโต้แย้งได้
(3) ข้อเท็จจริงซึ่งคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งได้รับแล้ว
(4) ข้อสันนิษฐานที่เป็นคุณแก่คู่ความฝ่ายนั้น
(5) ข้อเท็จจริงที่ศาลตรวจเห็นเอง
ตอนที่ 2 หน้าที่นำสืบและพยานที่จะนำสืบ
บทที่ 1 หน้าที่นำสืบพยานในคดีอาญา
ความเบื้องต้น
หน้าที่นำสืบ
อุทาหรณ์
บทที่ 2 พยานที่จะนำเข้าสืบในคดีอาญา
1. ต้องเป็นพยานวัตถุ พยานเอกสารหรือพยานบุคคล
2. ต้องเป็นพยานหลักฐานซึ่งน่าจะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยมีผิดหรือบริสุทธิ์
3. ต้องเป็นพยานชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจ มีคำมั่นสัญญา
ขู่เข็ญ หลอกหลวง หรือโดยมิชอบประการอื่น
4. ต้องนำสืบตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอื่น อันว่าด้วยการสืบพยาน
บทที่ 3 การนำสืบพยานในคดีอาญา
1. การนำสืบพยานโดยทั่วไป
อุทาหรณ์
2. ผู้ทำการสืบพยาน
อุทาหรณ์
3. สถานที่สืบพยาน
1. สืบพยานในศาล
2. สืบพยานนอกศาล
3. การเดินเผชิญสืบพยาน
4. การส่งประเด็นให้ศาลอื่นสืบพยาน
ตอนที่ 3 การรับฟังและการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานในคดีอาญา
บทที่ 1 หลักทั่วไปในการรับฟังและชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานในคดีอาญา
1. หลักเบื้องต้นในการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญา
2. หลักเบื้องต้นในการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานในคดีอาญา
บทที่ 2 หลักเกณฑ์การรับฟังพยานในคดีอาญา
1. พยานหลักฐานที่ศาลรับฟัง
1. พยานหลักฐานที่ดีที่สุดและพยานหลักฐานชั้นรอง
2. พยานหลักฐานโดยตรง และพยานหลักฐานแวดล้อมกรณี
หรือเหตุผล
3. พยานหลักฐานที่เตรียมไว้ก่อน และพยานหลักฐาน
ที่ได้มาโดยบังเอิญ
4. คำให้การของบุคคลที่กันไว้เป็นพยาน
5. ข้อเท็จจริงที่จำเลยรับบางประการ
6. คำซัดทอดของผู้กระทำผิดด้วยกัน
7. พยานที่ได้มาจากการล่อให้กระทำความผิด
8. คำพยานในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง
9. คำเบิกความของจำเลยเอง
10. การรับฟังพยานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
2. ประจักษ์พยานและพยานบอกเล่าที่ศาลรับฟัง
1. คำกล่าวของผู้ถูกทำร้ายก่อนตาย
2. คำกล่าวของหญิงผู้เสียหายในคดีข่มขืนกระทำชำเรา
หรือกระทำอนาจาร
3. ถ้อยคำของผู้ต้องหาและพยานในชั้นสอบสวน
4. พยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง และเกิดขึ้นกระชั้นชิด
กับข้อเท็จจริงที่เป็นประเด็นแห่งคดี
5. พยานหลักฐานเกี่ยวกับความเห็น
6. คำกล่าวของจำเลยที่ทำให้ตนเองเสียประโยชน์
7. ถ้อยคำของพยานเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี
ในชั้นสอบสวนหรือไต่สวนมูลฟ้อง
3. พยานหลักฐานที่ศาลไม่รับฟัง
1. พยานหลักฐานที่ได้สืบฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติแห่ง ป.วิ.อ.
หรือกฎหมายอื่น อันว่าด้วยการสืบพยาน
2. พยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย
3. คำพยานในคดีเรื่องก่อน
4. พยานที่ได้มาจากการท้ากันให้สืบในคดีอาญา
5. ถ้อยคำของผู้ต้องหาที่ให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวน
ก่อนได้ปฏิบัติการตามกฎหมาย
6. ถ้อยคำที่ผู้ต้องหาให้การในชั้นจับกุม
7. พยานที่เกี่ยวกับการกระทำผิดครั้งอื่น ๆ หรือ
ความประพฤติในทางเสื่อมเสียของจำเลย
บทที่ 3 การใช้ดุลพินิจในการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานในคดีอาญา
1. ผู้ใช้ดุลพินิจในการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
1. พนักงานสอบสวน
2. พนักงานอัยการ
3. ศาล
2. วิธีใช้ดุลพินิจในการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
1. การวินิจฉัยชั่งน้ำหนักพยานบุคคล
2. การวินิจฉัยชั่งน้ำหนักพยานเอกสาร
3. การวินิจฉัยชั่งน้ำหนักพยานวัตถุ
ตอนที่ 4 วิธีการสอบสวนและสืบพยานหลักฐานคดีอาญา
บทที่ 1 หลักเบื้องต้นในการสอบสวนและสืบพยานในคดีอาญา
1. วิธีการสอบสวนพยาน
2. การอ้างและระบุพยานชั้นศาล
1. ศาลไม่ได้กำหนดวันตรวจพยานหลักฐาน
2. ศาลกำหนดวันตรวจพยานหลักฐาน
3. การตรวจพยานหลักฐานก่อนสืบพยานชั้นศาล
4. ลักษณะการนำพยานเข้าสอบสวนและสืบสวนในคดีอาญา
บทที่ 2 พยานบุคคล
1. หลักเกณฑ์ทั่วไปในการสอบสวนและสืบพยานบุคคล
1.1 หลักทั่วไปในการสอบสวนพยานบุคคล
1.2 หลักทั่วไปในการสืบพยานบุคคล
2. การสอบสวนและการสืบพยานบุคคล
2.1 วิธีการเบื้องต้นในการสอบสวนและสืบพยานบุคคล
2.2 การสืบพยานบุคคล
3. เอกสิทธิ์ของพยานบุคคล
3.1 เอกสิทธิ์ไม่จำต้องไปศาล
3.2 เอกสิทธิ์ที่ไม่ต้องสาบานหรือกล่าวคำปฏิญาณ
3.3 เอกสิทธิ์ที่ไม่ต้องเบิกความ
3.4 เอกสิทธิ์ที่จะไม่ให้การถึงความลับ
4. พยานผู้เชี่ยวชาญ
4.1 ลักษณะของผู้เชี่ยวชาญ
4.2 ผู้เชี่ยวชาญในชั้นสอบสวน
4.3 ผู้เชี่ยวชาญในชั้นศาล
บทที่ 3 พยานเอกสาร
1. หลักเกณฑ์ทั่วไปในการสอบสวนและสืบพยานเอกสาร
1.1 หลักทั่วไปในการสอบสวนพยานเอกสาร
1.2 หลักทั่วไปในการสืบพยานเอกสาร
2. ลักษณะของพยานเอกสาร
2.1 เอกสารธรรมดา
2.2 เอกสารราชการ
2.3 การอ้างและเรียกพยานเอกสาร
1) การอ้างพยานเอกสาร
2) การเรียกพยานเอกสาร
3) เอกสิทธิ์ที่จะไม่ส่งพยานเอกสาร
2.4 การสืบพยานเอกสาร
1) การสืบพยานเอกสารของศาล
2) การสืบพยานเอกสารของคู่ความ
บทที่ 4 พยานวัตถุ
1. ลักษณะของพยานวัตถุ
1. สิ่งของ
2. สถานที่
2. การอ้างพยานวัตถุ
1. วิธีอ้างพยานวัตถุ
2. การเรียกพยานวัตถุ
3. การสอบสวนและการสืบพยานวัตถุ
1. วิธีการสอบพยานวัตถุ
2. วิธีการสืบพยานวัตถุในชั้นศาล
คำที่เกี่ยวข้อง
หนังสือ งบการเงินหุ้นที่คุณต้องอ่านหนังสือคู่มือร่างคำฟ้องคดีแพ่งและคดีอาญาหนังสือคู่มือร่างคำฟ้องคดีแพ่งและคดีอาญา (ภาคทฤษฎี)หนังสือ ทุกคนมีจังหวะชีวิตหนังสือพยานงบการเงินที่คุณต้องอ่านหนังสืออ่านใจคนหนังสือทนายความหนังสือที่ควรอ่านหนังสือที่ bts อ่าน

สินค้าใกล้เคียง