คำอธิบายกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 2 ลักษณะ 1 วิธีพิจารณาสามัญในศาลชั้นต้น ไพโรจน์ วายุภาพ
คำอธิบายกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง-ภาค-2-ลักษณะ-1-วิธีพิจารณาสามัญในศาลชั้นต้น-ไพโรจน์-วายุภาพ
ข้อมูลสินค้า
ราคา
265.00 239.00 บาท
ขายแล้ว
335 ชิ้น
ร้านค้า
คำอธิบายกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 2 ลักษณะ 1 วิธีพิจารณาสามัญในศาลชั้นต้น ไพโรจน์ วายุภาพ
ผู้แต่ง : ศ.พิเศษ ไพโรจน์ วายุภาพ
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 9 : 2565
จำนวนหน้า: 308 หน้า
ขนาด : มาตราฐาน
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786165943628

สารบาญ

ข้อความเบื้องต้น
บทที่ ๑ คำฟ้อง

ส่วนที่ ๑ การบรรยายฟ้อง
๑. รายละเอียดเกี่ยวกับโจทก์จำเลย
๒. ใจความของคำฟ้อง
สภาพแห่งข้อหา
๒) ข้ออ้างอันอาศัยเป็นหลักแห่งข้อหา
๓) คำขอบังคับและการลงลายมือชื่อท้ายฟ้อง
ส่วนที่ ๒ ฟ้องเคลือบคลุม
๑. เวลาและสถานที่
๒. บุคคล
๓. ทรัพย์สิน
๔. เอกสาร
๕. สัญญา
๖. การกระทำ
๗. ความเสียหาย
ส่วนที่ ๓ การยื่นฟ้อง
ส่วนที่ ๔ การสั่งฟ้อง
บทที่ ๒ คำให้การ
๑. รายการในคำให้การ
๒. ใจความของคำให้การ
๓. คำให้การปฏิเสธ
๑) คำให้การปฏิเสธโดยชัดแจ้ง
๒) คำให้การปฏิเสธที่ต้องแสดงเหตุผลประกอบ
๓) คำให้การปฏิเสธที่เป็นการยกข้อต่อสู้
๔. คำให้การรับ
๑) คำให้การรับ
๒) คำให้การที่ถือว่ารับ
๕. คำให้การภาคเสธ
๖. คำขอท้ายคำให้การ
๗. การยื่นคำให้การ
๘. การสั่งคำให้การ
บทที่ ๓ ฟ้องแย้ง
๑. ผู้ที่มีสิทธิฟ้องแย้ง
๒. ผู้ที่อยู่ในฐานะเป็นจำเลยของฟ้องแย้ง
๓. การบรรยายฟ้องในส่วนของฟ้องแย้ง
๔. ฟ้องแย้งที่จะรับไว้พิจารณาได้
๕. เขตอำนาจศาลในส่วนของฟ้องแย้ง
๖. ค่าขึ้นศาลในส่วนของฟ้องแย้ง
๗. การสั่งฟ้องแย้ง
๘. การพิจารณาพิพากษาคดีในส่วนของฟ้องแย้ง
บทที่ ๔ ฟ้องซ้อน
๑. หลักเกณฑ์ของฟ้องซ้อน
๑) โจทก์คดีก่อนเป็นคนเดียวกับโจทก์คดีหลัง และทั้งสองคดี
มีจำเลยคนเดียวกัน
๒) คดีก่อนและคดีหลังเป็นเรื่องเดียวกัน
๒. ผลของฟ้องซ้อน
บทที่ ๕ ทิ้งฟ้อง
๑. เหตุที่จะถือว่าเป็นการทิ้งฟ้อง
๑) โจทก์เพิกเฉยไม่ร้องขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ส่ง
หมายเรียกให้แก้คดีแก่จำเลย
๒) โจทก์เพิกเฉยไม่ดำเนินคดีตามคำสั่งของศาล
๒. การสั่งทิ้งฟ้อง
๓. ผลของการทิ้งฟ้อง
๔. กรณีที่มีใช่เรื่องทิ้งฟ้อง
บทที่ ๖ ถอนคำฟ้อง
๑. ผู้มีสิทธิขอถอนคำฟ้อง
๒. ระยะเวลาที่จะขอถอนคำฟ้องได้
๓. วิธีขอถอนคำฟ้อง
๔. การสั่งคำขอถอนคำฟ้อง
๕. ผลของการถอนคำฟ้อง
๖. การคืนค่าขึ้นศาล
บทที่ ๗ การแก้ไขคำฟ้องและคำให้การ
ส่วนที่ ๑ การแก้ไขคำฟ้อง
๑. คำฟ้องของโจทก์ที่จะขอแก้ไขเพิ่มเติมได้ต้องเป็นคำฟ้อง
ที่ชอบด้วยกฎหมายมาแต่ต้น
๒. เรื่องที่โจทก์จะขอแก้ไขคำฟ้องได้
๓. คำฟ้องเดิมและคำฟ้องเพิ่มเติมต้องเกี่ยวข้องกัน
๔. ระยะเวลาที่จะยื่นคำร้องขอแก้ไขคำฟ้อง
๕. การสั่งคำร้องขอแก้ไขคำฟ้อง
๖. ผลของการแก้ไขคำฟ้อง
ส่วนที่ ๒ การแก้ไขคำให้การ
๑. เรื่องที่จะขอแก้ไขคำให้การได้
๓. การสั่งคำร้องขอแก้ไขคำให้การ
๔. ผลของการแก้ไขคำให้การ
บทที่ ๘ การชี้สองสถาน
๑. กรณีที่ไม่ต้องมีการขี้สองสถาน
๒. กระบวนพิจารณาชี้สองสถาน
๑) การไกล่เกลี่ย
๒) การกำหนดประเด็นข้อพิพาท
๓) การกำหนดภาระการพิสูจน์
การกำหนดหน้าที่นำสืบ
๓. การคัดค้านการชี้สองสถาน
๔. การไม่มาศาลในวันชี้สองสถาน
บทที่ ๙ การพิจารณาคดี
บทที่ ๑ㆍ การพิพากษาคดี
บทที่ ๑๑ คดีไม่มีข้อพิพาท
การบรรยายคำร้องขอ
๒. การยื่นคำร้องขอ
๓. การไต่สวน
๔. การมีคำสั่ง
๕. การอุทธรณ์ฎีกา
๖. คดีไม่มีข้อพิพากษากลายเป็นคดีมีข้อพิพาท
บรรณานุกรม
คำที่เกี่ยวข้อง
คำอธิบายกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ไพโรจน์คำอธิบายกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาคำอธิบายวิธีพิจารณาความแพ่งกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาคบังคับคดีวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1วิธีพิจารณาความแพ่งภาค1กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 1กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 2คำอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

สินค้าใกล้เคียง