หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง บรรเจิด สิงคะเนติ
หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง-บรรเจิด-สิงคะเนติ
ข้อมูลสินค้า
ราคา
400.00 380.00 บาท
ขายแล้ว
62 ชิ้น
ร้านค้า
หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง บรรเจิด สิงคะเนติ
ผู้แต่ง : บรรเจิด สิงคะเนติ
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 7 : 2563
จำนวนหน้า : 432 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786162698996

สารบาญ

ภาค 1 ข้อความคิดว่าด้วยการควบคุมฝ่ายปกครอง
บทที่ 1 ข้อความคิดทั่วไปในการควบคุมฝ่ายปกครอง
1.1 เหตุผลและความจำเป็นในการควบคุมฝ่ายปกครอง
1.1.1 หลักแบ่งแยกอำนาจ
1.1.2 หลักการกระทำทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย
1.1.3 หลักประกันในการคุ้มครองสิทธิละเสรีภาพของประชาชน
1.1.4 หลักความรับผิดชอบของรัฐ
1.2 ความหมายของ ฝ่ายปกครอง
1.3 ของเขตของการควบคุมของฝ่ายปกครอง
1.4 ระบบการควบคุมฝ่ายปกครอง
1.5 การควบคุมโดยองค์กรตุลาการ
บทที่ 2 องค์กรฝายปกครอง
2.1 ความหมายของ ปกคอรง
2.1.1 ความพยายามในการให้ความหมายของฝ่ายปกครอง
2.1.2 ลักษณะสาระสำคัญของฝ่ายปกครอง
2.1.3 ลักษณะความแตกต่างหลากหลายของฝ่ายปกครอง
2.2 องค์กรฝ่ายปกครองในระบบกฎหมายไทย
2.2.1 การจังองค์กรฝ่ายปกครองไทย
2.2.2 องค์กรฝ่ายปกครองในความหมายต่างๆ
บทที่ 3 การกระทำทางปกครอง
3.1 ปฏิบัติการทางปกครอง (der Rralakt)
3.1.1 ความหมายของปฏิบัติการทางปกครอง (der Realakt) หรือการกระทำในทางข้อเท็จจริง
3.1.2 เงื่อนไขทางกฎหมาย
3.1.3 ผลของการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
3.1.4 การคุ้มครองสิทธิของบุคคลจาก ปฏิบัติการทางปกครอง
3.2 การกระทำทางกฎหมาย (der Rechtakt)
3.2.1 ความสัมพันธ์ภายในฝ่ายปกครอง (InnenverhaeItmis)
3.2.2 ความสัมพันธ์ภายนอกฝ่ายปกครอง (Aussenverhaeltnis)
บทที่ 4 ขอบเขตของการควบคุมฝ่ายปกครอง
4.1 วัตถุแห่งการควบคุม
4.1.1 การควบคุมเหนือ บุคคล
4.1.2 การควบคุมเหนือ การกรทำ
4.1.3 การควบคุมเหนือ ดุลพินิจ
4.2 วัตถุประสงค์ (objective) ของการควบคุม
4.2.1 การควบคุมความชอบด้วยกฎหมาย (Rechtsmaessigkeit)
4.2.2 การควบคุมความชอบด้วยวัตถุประสงค์ (Zweckmaessigkeit) หรือการควบคุมความเหมาะสม
ภาค 2 ระบบการควบคุมฝ่ายปกครอง
บทที่ 5 การควบคุมฝ่ายปกครองแบบป้องกัน
5.1 การควบคุมโดยองค์กรของรัฐ
5.1.1 การควบคุมโดยองค์กรของรัฐที่มีอำนาจทั่วไป
5.1.2 การควบคุมโดยองค์กรของรัฐที่มีอำนาจเฉพาะเรื่อง
5.2 การควบคุมโดยประชาชน
5.2.1 การควบคุมโดยการให้ประชาชนมีส่วนรวม
5.2.2 การควบคุมโดยการให้ประชาชนรับรู้และเข้าถึงเอกสารราชการ
บทที่ 6 การควบคุมฝ่ายปกครอง
6.1 การควบคุมโดยผู้มีอำนาจเหนือ
6.2 การอุทธรณ์ภายในฝ่ายปกครอง
6.2.1 ระบบของการอุทธรณ์
6.2.2 การอุทธรณ์ตามกฎหมายไทย
6.2.3 การควบคุมโดยคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท
บทที่ 7 การควบคุมโดยองค์กรภายนอกฝ่ายปกครอง
7.1 การควบคุมทางการเมือง
7.1.1 การตั้งกระทู้ถาม
7.1.2 การใช้กลบไกคณะกรรมาธิการ
7.1.3 การเปิดอภิปรายทั่วไป
7.2 การควบคุมโดยองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
7.2.1 ผู้ตรวจการแผ่นดิน
7.2.2 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
7.2.3 คณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
7.2.4 คณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน
ภาค 3 การควบคุมโดยองค์กรตุลาการ
บทที่ 8 ระบบการควบคุมฝ่ายปกครองโดยองค์กรตุลาการ
8.1 ระบบศาลกับการควบคุมฝ่ายปกครอง
8.1.1 ระบบศาลเดี่ยว
8.1.2 ระบบศาลคู่
8.2 ระบบศาลคู่ของต่างประเทศ
8.2.1 ประเทศฝรั่งเศส
8.2.2 ประเทศเยอรมนี
บทที่ 9 การควบคุมฝ่ายปกครองโดยองค์กรตุลาการในประเทศไทย
9.1 การควบคุมฝ่ายปกครองโดยศาลยุติธรรม

9.2การควบคุมฝ่ายปกครองโดยศาลปกครอง
บทที่ 10 วิธีพิจารณาคดีปกครองของไทย
10.1 เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง
10.1.1 คดีที่ฟ้องเป็นคดีข้อพิพาททางปกครองที่อยู่ในเขตอำนาจของศาลปกครอง
10.1.2 เงื่อนไขเกี่ยวกับเขตอำนาจศาล
10.1.3 เงื่อนไขเกี่ยวกับอำนาจฟ้องคดี
10.1.4เงื่อนไขความสามารถในการดำเนินคดีและการีตัวแทนในคดี (มาตรา 45 วรรคห้า)
10.1.5 เงื่อนไขประเภทของการฟ้อง
10.1.6 เงื่อนไขเกี่ยวกับการดำเนินการเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายครบขั้นตอนตามที่กฎหมายกำหนดแล้ว (มาตรา 42 วรรคสอง )
10.1.7 เรื่องที่ฟ้องจะต้องไม่เป็นการฟ้องซ้ำหรือฟ้องซ้อน (ข้อ 97 และข้อ 39 ระเบียบที่ประชุมใหญ่)
10.1.8 เงื่อนไขเกี่ยวกับระยะเวลาในการฟ้องคดีปกครอง
10.1.9 เงื่อนไขค่าธรรมเนียมศาล (มาตรา 45 วรรคสี่)
10.2 ประเภทของคดีปกครอง
10.2.1 คดีที่เกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการใช้อำนาจฝ่ายเดียวไม่ว่าจะเป็นจะเป็นการออกกฎหมาย หรือคำสั่ง หรือการกระทำอื่นใด ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (1)
10.2.2 คดีละเลยต่อการปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง(2)
10.2.3 คดีที่เกี่ยวกับการละเมิดทางปกครองหรือความรับผิดอย่างอื่นของฝ่ายปกครอง ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (4)
10.3 การดำเนินคดีปกครอง
10.3.1 การตรวจคำฟ้อง
10.3.2 การแสวงหาข้อเท็จจริงแห่งคดี
10.3.3 การจัดทำสรุปข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และข้อเสนอแนะ ในการวินิจฉัยคดี
10.3.4 การนั่งพิจารนาคดี
บทที่ 11 การคุ้งครองชั่วคราว การพิพากษาคดีและการบังคับคดี
11.1 การคุ้มครองชั่วคราว
11.1.1 ข้อความทั่วไป
11.1.2 การคุ้มครองชั่วคราวของศาลปกครองเยอรมนี
11.1.3 การคุ้มครองชั่วคราวของศาลปกครองไทย
11.2 การพิพากษาและการบังคับคดีปกครอง
11.2.1 การทำคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขากคดีปกครอง
11.2.2 การบังคับคดีปกครอง
บรรณานุกรม
คำที่เกี่ยวข้อง
บรรเจิด สิงคะเนติการควบคุมฝ่ายปกครองกฎหมาย เกี่ยวกับกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมกฎหมายเกี่ยวกับคดีเด็กฝ่าย ปกครองฝ่ายปกครองเสื้อฝ่ายปกครองหนังสือเกี่ยวกับกฎหมายหนังสือเกี่ยวกับการบัญชี

สินค้าใกล้เคียง