c111 มาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน 9786163960238
c111-มาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก-โดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน-9786163960238
ข้อมูลสินค้า
ราคา
250.00 238.00 บาท
ขายแล้ว
9 ชิ้น
แบรนด์
Chulabook(ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ร้านค้า
มาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน

มาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน
ประจำปี 2557 – 2562
การแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 2
มาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
โดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน

ประเด็นสำคัญในการแก้ไข :
1. การใช้หัวข้อและการเรียงลำดับของหัวข้อ เป็นไปตาม “คู่มือการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรม” ของ วสท. ฉบับประกาศเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2558
2. ปรับนิยามในบทที่ 2 ให้ตรงกับนิยามในกฎกระทรวงของกรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
3. รวมสัญลักษณ์จากบทต่าง ๆ ไปรวมอยู่ในบทที่ 2 เหมือนกับ “วิธีกำลัง”
4. ศัพท์บัญญัติจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ให้ใช้ศัพท์บัญญัติที่กำลังดำเนินการอยู่ของ “ราชบัณฑิตยสภา”
5. ให้อ้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ควบคู่ไปกับ ASTM
6. ปรับกำลังอัดของคอนกรีตรูปทรงกระบอกจาก 100,150,200,250,300 และ 350 กก./ซม2. เป็น 150,180,210,240,280 และ 320 กก./ซม2.
7. จำกัดการใช้เหล็กเสริมชั้นคุณภาพ SR24 SD30 และ SD40 ยกเลิก SD50 ในหัวข้อการต่อทาบเหล็กเสริม
8. ย้ายหัวข้อย่อย “การต่อหลักเสริม” ในหัวข้อใหญ่ “รายละเอียดเหล็กเสริม” ไปต่อจากหัวข้อ “แรงยึดหน่วงและการยึด”
9. เพิ่มข้อย่อย “ความยาวระยะฝัง” โดยการพัฒนาสูตรจากหน่วยแรงยึดหน่วงเดิม และนำไปรวมอยู่ในบท “แรงยึดหน่วง ความยาวระยะฝังและการต่อเหล็กเสริม” เหมือน “วิธีกำลัง”
10. ข้อ 7.5 เพิ่มข้อความจาก “เหล็กเสริมตามขวาง” เป็น “เหล็กเสริมตามขวางสำหรับองค์อาคารรับแรงอัด”และเพิ่มข้อ 7.6 “เหล็กเสริมตามขวางสำหรับองค์อาคารรับแรงดัด” เหมือน “วิธีกำลัง”
11. กำหนดนิยามของแถบเสาและแถบกลางในการคำนวณออกแบบแผ่นพื้นสองทาง

สารบัญ
หมวด 1 ทั่วไป 1
บทที่ 1 ข้อกำหนดทั่วไป 1
บทที่ 2 นิยามและสัญลักษณ์ 3
หมวด 2 บทกำหนดสำหรับวัสดุก่อสร้าง 11
บทที่ 3 วัสดุก่อสร้าง 11
หมวด 3 เกณฑ์กำหนดในการก่อสร้าง 13
บทที่ 4 คุณภาพของคอนกรีต 13
บทที่ 5 การผสมและการเทคอนกรีต 21
บทที่ 6 แบบหล่อคอนกรีต ท่อที่ฝัง และรอยต่อก่อสร้าง 25
บทที่ 7 รายละเอียดเหล็กเสริม 29
หมวด 4 การจัดส่วนขององค์อาคารและการยึดปลายเหล็กเสริม 37
บทที่ 8 การวัดส่วนขององค์อาคาร 37
บทที่ 9 การยึดปลายเหล็กเสริม 43
หมวด 5 การวิเคราะห์โครงสร้าง 47
บทที่ 10 ทั่วไป 47
บทที่ 11 แผ่นพื้นและคาน 49
บทที่ 12 เสา 51
หมวด 6 การคำนวณออกแบบองค์อาคาร 55
บทที่ 13 หน่วยแรงที่ยอมให้ 55
บทที่ 14 การคำนวณแรงดัด 61
บทที่ 15 แรงเฉือนและแรงดึงทแยง 63
บทที่ 16 แรงบิด 69
บทที่ 17 แรงยึดหน่วง ความยาวระยะฝัง และการต่อเหล็กเสริม 71
บทที่ 18 เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 77

หมวด 7 ระบบโครงสร้างหรือชิ้นส่วนโครงสร้าง 81
บทที่ 19 แผ่นพื้นระบบตงและแผ่นพื้นสองทาง 81
บทที่ 20 แผ่นพื้นไร้คานรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผ้า 85
บทที่ 21 ฐาน 103
บทที่ 22 กำแพงคอนกรีตเสริมเหล็ก 109
บทที่ 23 คอนกรีตหล่อสำเร็จรูป 113
บทที่ 24 องค์อาคารคอนกรีตเชิงประกอบสำหรับแรงดัด 115
ภาคผนวก ก วิธีการคำนวณออกแบบแผ่นพื้นสองทาง 117
ภาคผนวก ข 132
ภาคผนวก ค ประมวลศัพท์วิทยาการ ไทย-อังกฤษเฉพาะที่ใช้ใน
มาตรฐานฉบับ 133
คำที่เกี่ยวข้อง
มาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กวิธีใช้c111อาร์มหน่วยงานเสื้อกั๊กหน่วยงานหมวกหน่วยงานเสื้อหน่วยงานหมวกแก็ปหน่วยงานchulabook c111หนังสือ 9786163960757 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2564วิธีคิดวิธีทำงาน

สินค้าใกล้เคียง