หนังสือ 100 วิธีเอาตัวรอดจากหนี้
หนังสือ-100-วิธีเอาตัวรอดจากหนี้
ข้อมูลสินค้า
ราคา
245.00 บาท
ขายแล้ว
1 ชิ้น
แบรนด์
7D Book(7ดี บุ๊ค)
ร้านค้า
100 วิธีเอาตัวรอด ฉบับคนเคยเป็นหนี้ 50 ล้าน
>> 📚 หนังสือที่คนเป็นหนี้ต้องอ่าน ขายแล้วกว่า 10,000 เล่ม ทั่วประเทศไทย
.
หยุดกู้เงินก้อนใหม่ มาโปะหนี้เรื้อรังก้อนเก่า รีบค้นหาทางออกที่ใช่ โดยไม่ต้องสร้างหายนะเพิ่ม
.
"เป็นหนี้มีทางออกเสมอ" ไม่ต้องกู้เพิ่ม ก็ปลดหนี้ได้ หนี้บ้าน หนี้รถ หนี้บัตรเครดิต หนี้นอกระบบ ไม่ต้องกลัว ! อ่านเล่มนี้จบ แล้วคุณจะพบทางออก
.
📚 "100 วิธีเอาตัวรอดจากหนี้"
หนังสือที่รวบรวม 100 เทคนิคจากประสบการณ์จริงของ นพ.ธีรวัฒน์ เนียมสุวรรณ ที่เคยเป็นหนี้กว่า 50 ล้าน จนเกือบเอาตัวไม่รอด แต่เมื่อละทิ้งความกลัวและไม่ยอมแพ้..จึงได้ปลดล็อคความคิดและหาทางก้าวผ่านจุดที่ชีวิตดิ่งลงเหวมาได้
.
#สารบัญ
บทนำ
วิธีที่ 1 กำลังใจก่อนปลดหนี้
วิธีที่ 2 จะปลดหนี้ ใจต้องพร้อม
วิธีที่ 3 ธนาคารลดหนี้ได้ แต่ไม่เคยบอกลูกหนี้
วิธีที่ 4 ธนาคารลดหนี้ให้ใครบ้าง
วิธีที่ 5 ธนาคารกลัวลูกหนี้ประเภทไหน
วิธีที่ 6 ชนะธนาคารด้วยวิชามารและวิชามัน
วิธีที่ 7 การปลดหนี้ที่ธนาคารไม่เคยบอกลูกหนี้
วิธีที่ 8 สิ่งที่คุณต้องรู้ทันธนาคาร
วิธีที่ 9 การคิดดอกเบี้ยบัตรเครดิต
วิธีที่ 10 ธนาคารเก็บดอกเบี้ยเกินกว่า 15% ต่อปี
วิธีที่ 11 ธนาคารเก็บดอกเบี้ยสองเด้ง
วิธีที่ 12 ดอกเบี้ยปรับ คิดตั้งแต่วันผิดนัด
วิธีที่ 13 จ่ายขั้นต่ำก็ผิดนัด
วิธีที่ 14 จ่ายดอกตามอำเภอใจ
วิธีที่ 15 ดอกเบี้ยแบบนี้ ต้องรีบปิด
วิธีที่ 16 การคิดดอกเบี้ยกรณีบัตรกดเงินสด
วิธีที่ 17 เงินปากถุง
วิธีที่ 18 จ่ายขั้นต่ำ เสียดอกปรับ
วิธีที่ 19 ขอลดหย่อนหนี้ได้ ถ้าปิดเร็ว
วิธีที่ 20 การคิดดอกเบี้ย
วิธีที่ 21 การคิดดอกเบี้ยบ้าน
วิธีที่ 22 การคิดดอกเบี้ยปรับ
วิธีที่ 23 เงินต้นเท่านั้นที่คิดดอกเบี้ยได้
วิธีที่ 24 ทำไมจ่ายหนี้บัตรเครดิต..แต่หนี้จึงไม่ลด
วิธีที่ 25 สิ่งที่ต้องรู้ก่อนต่อรองหนี้กับธนาคาร
วิธีที่ 26 การเจรจาต่อรองที่ธนาคารต้องยอม
วิธีที่ 27 หลักการเจรจาต่อรองหนี้กับธนาคาร
วิธีที่ 28 หลักการเจรจาต่อรองกับเจ้าหนี้ให้ได้ผล
วิธีที่ 29 ทำการบ้านก่อนไปเจรจาต่อรอง
วิธีที่ 30 ต่อรองให้เราได้ประโยชน์มากที่สุด
วิธีที่ 31 ต่อรองให้แล้วทำชำระหนี้ได้จริง ไม่ผิดนัดอีก
วิธีที่ 32 ต่อรองภายใต้กรอบของกฎหมาย
วิธีที่ 33 เพิ่มอำนาจต่อรอง ถ้ามีเงินสดไปเจรจา
วิธีที่ 34 มีหลักฐานการต่อรองที่เป็นลายลักษณ์อักษร
วิธีที่ 35 ตัวอย่างการเขียนหนังสือง่าย ๆ ที่เป็นลายลักษณ์อักษร
วิธีที่ 36 หนี้ท่วมหัวจะเอาตัวรอดได้อย่างไร
วิธีที่ 37 คุณเป็นหนี้ขั้นไหน
วิธีที่ 38 คุณเป็นหนี้ขั้นไหนจะได้แก้ได้ตรงจุด
วิธีที่ 39 สร้างความกังวลใจหรือเปล่า
วิธีที่ 40 สร้างความเดือดร้อนให้ผู้อื่นหรือเปล่า
วิธีที่ 41 สร้างความอดอยากให้กับครอบครัวหรือเปล่า
วิธีที่ 42 หยุดส่งทุกอย่าง หรี้จะหมดเร็วกว่าจริง ๆ
วิธีที่ 43 ทำไมถึงหยุดจ่าย แต่..ปลดหนี้เร็วกว่า?
วิธีที่ 44 หยุดจ่าย..แล้วมีเงินเหลือ
วิธีที่ 45 หลุดจ่าย..จะต่อรองได้มากขึ้น
วิธีที่ 46 หยุดจ่าย..เพื่อเลือกปิดหนี้ทีละก้อน
วิธีที่ 47 ทำอย่างไรได้ลดทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย
วิธีที่ 48 ประวัติเครดิตบูโร
วิธีที่ 49 แก้หนี้ถูกทาง..ชีวิตไม่พังเพราะหนี้
วิธีที่ 50 หนี้กตัญญู
วิธีที่ 51 หนี้ตัวเอง
วิธีที่ 52 หนี้คู่ชีวิต
วิธีที่ 53 หนี้นอกระบบ
วิธีที่ 54 หนี้ในระบบ
วิธีที่ 55 หนี้บัตรเครดิตและบัตรกดเงินสด
วิธีที่ 56 หนี้สินเชื่อเงินสด
วิธีที่ 57 หนี้รถ
วิธีที่ 58 หนี้ธุรกิจ
วิธีที่ 59 หนี้บ้าน
วิธีที่ 60 ประเภทของการปลดหนี้
วิธีที่ 61 การปิดหนี้ทั้งก้อนทีเดียว
วิธีที่ 62 หักกลบลบหนี้
วิธีที่ 63 โอนทรัพย์ชำระหนี้
วิธีที่ 64 แปลงหนี้เป็นทุน
วิธีที่ 65 วางชำระหนี้ที่กรมบังคับคดี
วิธีที่ 66 ขายทอดตลาด
วิธีที่ 67 ประนอมหนี้
วิธีที่ 68 ปรับลดการส่งต่อเดือน
วิธีที่ 69 ปรับปรุงโครงสร้างหนี้
วิธีที่ 70 รีไฟแนนซ์
วิธีที่ 71 รวมหนี้แล้ว..ปิดบางส่วน
วิธีที่ 72 ขอลดยอดหนี้แล้วแบ่งชำระเป็นงวด
วิธีที่ 73 ขอลดยอดหนี้แล้วแบ่งชำระแบบบอลลูน หรือขั้นบันได
วิธีที่ 74 จ่ายหนี้เกินขั้นต่ำจนหนี้หมด
วิธีที่ 75 เปลี่ยน OD เป็น Term Loan
วิธีที่ 76 การรับมือขั้นเทพกับพวกชอบทวงหนี้
วิธีที่ 77 เมื่อจะโดนฟ้องแล้วทำอย่างไรดี
วิธีที่ 78 โดนหมายฟ้องแล้วทำอย่างไรดี
วิธีที่ 79 หลักการและขั้นตอนการฟ้องร้องดำเนินคดี
วิธีที่ 80 จะโดนยึดทรัพย์แล้วทำอย่างไรดี
วิธีที่ 81 ล้มละลาย..ไม่ตายสักหน่อย
วิธีที่ 82 ทำไงดี ปลดหนี้หมดแล้ว
วิธีที่ 83 แนวคิดของคนเป็นหนี้
วิธีที่ 84 สิ่งที่ป้องกันคุณไม่ให้เป็นหนี้เพิ่ม
วิธีที่ 85 ต้องเก็บเอกสารสำคัญของคนเป็นหนี้ 10 ปี
วิธีที่ 86 สัญญากู้ตัวจริงหรือสำเนา เป็นรายการที่สรุปยอดหนี้ทั้งสิ้น
วิธีที่ 87 ใบค่างวด ใบเสร็จรับเงิน
วิธีที่ 88 ประกันแนบบัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม
วิธีที่ 89 ประกันแนบสินเชื่อ ธุรกิจ
วิธีที่ 90 ประกันคุ้มครองสินเชื่อประเภท MRTA
วิธีที่ 91 ข้อกฎหมายที่ลูกหนี้ที่ต้องรูปเพื่อเอาตัวรอด
วิธีที่ 92 ความเป็นจริงเกี่ยวกับธนาคาร
วิธีที่ 93 สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้
วิธีที่ 94 ดอกเบี้ยคืออะไร ?
วิธีที่ 95 ดอกเบี้ย ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม และค่าบริการอื่น ๆ ของบัตรเคดิต
วิธีที่ 96 ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมของสินเชื่อส่วนบุคคล
วิธีที่ 97 อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ แต่ละธนาคาร
วิธีที่ 98 อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก แต่ละธนาคาร
วิธีที่ 99 ศัพท์เฉพาะทางลูกหนี้
วิธีที่ 100 ลักษณะของสินเชื่อเพื่อการบริโภค
คำที่เกี่ยวข้อง
หนังสือ 100วิธีเอาตัวรอดจากหนี้100 วิธีเอาตัวรอดจากหนี้100วิธีตัวรอดจากหนี้เอาตัวรอดจากหนี้วิธีเอาตัวรอดจากสถานการณ์วิธีเอาตัวรอดจากคนเฮงซวยวิธีเอาตัวรอดจากที่ทำงานวิธีเอาตัวรอดจากคนเป็นพิษหนังสือวิธีเอาตัวรอดวิธีเอาตัวรอด

สินค้าใกล้เคียง