คำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลว่าด้วยสัญชาติ ภิรนา พุทธรัตน์
คำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลว่าด้วยสัญชาติ-ภิรนา-พุทธรัตน์
ข้อมูลสินค้า
ราคา
250.00 225.00 บาท
ขายแล้ว
165 ชิ้น
ร้านค้า
ชื่อ = คำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลว่าด้วย สัญชาติ ภิรนา พุทธรัตน์
จัดพิมพ์เมื่อ = พิมพ์ครั้งที่ 2 /2566
ผู้เขียน = ภิรนา พุทธรัตน์
มีจำนวนหน้า = 264 หน้า
ชนิดปก = ปกอ่อน (T)
ขนาด = - ซม.
รหัสเลข isbn = 9789742039219
นิติธรรม
Attorney285


คำนำ
(พิมพ์ครั้งที่ 2)
เมื่อเดือนเมษายน 2565 ทางสำนักพิมพ์นิติธรรมได้ให้เกียรติจัดพิมพ์หนังสือเรื่อง
"ดำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสัญชาติ" ของข้าพเจ้า ครั้งที่ 1 เป็นจำนวน 500 เล่ม
ปรากฏว่าหนังสือคำธิบายกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสัญชาติได้รับการตอบรับเป็น
อย่างดีจากบรรดานักศึกษากฎหมาย และบุคคลทั่วไปจึงทำให้จำหน่ายหมดลงอย่างรวดเร็ว
แต่ทว่าหนังสือดำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสัญชาติยังคงมีความต้องการจาก
บรรดานักศึกษากฎหมาย และบุคคลทั่วไปอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุนี้เอง ข้าพเจ้าจึงได้ทำการ
จัดพิมพ์หนังสือดำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสัญชาติ เป็นครั้งที่ 2
ดังที่ได้กล่าวไปในการพิมพ์หนังสือดำธิบายกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสัญชาติ
ครั้งที่ 1 ว่า ในฐานะผู้บรรยายกระบวนวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลและคดีอาญา
ข้าพเจ้าจึงได้ทำการรวบรวมเนื้อหาคำอธิบายกฎหมายว่าด้วยสัญชาติขึ้นจากหนังสือและตำรา
ของเหล่าคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหลายซึ่งมีคุณค่ายิ่งในเชิงวิชาการ โดยในหนังสือเล่มนี้
ประกอบไปด้วยดำธิบายในแต่ละมาตรา ตัวอย่างในการปรับใช้กฎหมาย และแผนผังการใช้
กฎหมายสัญชาติในแต่ละช่วงเวลา เพื่อให้ผู้อ่านสามารถทำความเข้าใจด้วยตนเองได้อย่างง่ายดาย
และอีกครั้งหนึ่ง ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่ได้
มอบโอกาสให้ข้าพเจ้าได้เป็นผู้บรรยายในกระบวนวิชานี้ ขอขอบพระคุณสำนักพิมพ์นิติธรรม
ที่ได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของกฎหมายสัญชาติ อนึ่ง คุณความดีประการใดที่หนังสือ
เล่มนี้ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ขึ้น ล้วนเป็นคุณูปการจากการศึกษาและปัญญาที่ข้าพเจ้าได้สะสม
มาตลอดทั้งชีวิต ข้าพเจ้าขออุทิศความดีงามทั้งหลายเหล่านี้ให้แค่บรรดาบูรพคณาจารย์ผู้ประสิทธิ์
ประสาทวิชา อีกทั้งบิดามารดาผู้ให้กำเนิด กัลยาณมิตร และบุคคลผู้มีพระคุณในชีวิตของข้าพเจ้า
ความผิดพลาดประการใดที่เกิดขึ้น ข้าพเจ้าขอน้อมรับไว้แต่เพียงผู้เดียว
ภิรนา พุทธรัตน์
ภาควิชากฎหมายระหว่างประเทศ
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พฤษภาคม 2566

สารบัญ

บทที่ 1 หลักการเบื้องตันของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
1.1 ความสัมพันธ์ของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลกับกฎหมายภายใน
1.1.1 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลเป็นกฎหมายภายใน
1.1.2 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกตดีบุคคลเป็นกฎหมายระหว่างประเทศ
1.2 ความสัมพันธ์ของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลกับกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน
1.2.1 ถฎหมายระหว่างประเทศแผนกดดีบุคคลเป็นกฎหมายเอกชน
1.2.2 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลเป็นกฎหมายมหาชน
1.3 ความสัมพันธ์ของบุคคลกับกฎหมายระหว่างประเทศ
1.3.1 บุคคลธรรมดาในมุมมองของกฎหมายระหว่างประเทศ
1.3.2 นิติบุดคลในมุมมองของกฎหมายระหว่างประเทศ
1.4 ที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกดดีบุคคล
1.4.1 บ่อเกิดในประเทศ
1.4.1.1 บทกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร
1.4.1.2 จารีตประเพณี
1.4.1.3 คำพิพากษาของศาล
1.4.2 บ่อเกิดระหว่างประเทศ
1.4.2.1 สนธิสัญญาระหว่างประเทศ
1.4.2.2 จารีตประเพณีระหว่างประเทศ
1.4.2.3 คำพิพากษาของศาลระหว่างประเทศ
1.5 ขอบเขตของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
บทที่ 2 หลักการเบื้องต้นของกฎหมายสัญชาติ
2.1 ความหมายของสัญชาติ
2.2 ลักษณะสำคัญของสัญชาติ
2.3 องค์ประกอบของสัญชาติ
2.4 ประโยชน์ของการมีสัญชาติของบุคคล
2.5 วิวัฒนาการของรัฐในการบัญญัติกฎหมายสัญชาติ
2.6 หลักการพื้นฐานของกฎหมายสัญชาติ
บทที่ 3 กฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับบุคคลและสัญชาติ
3.1 กฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับบุคคล
3.1.1 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ด.ศ.1948
3.1.2 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองค.ศ.1966
3.1.3 อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ค.ศ.1989
3.2 กฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสัญชาติ
3.2.1 อนุสัญญาว่าด้วยปัญหาบางประการเกี่ยวกับการขัดกันแห่งกฎหมาย
สัญชาติ ด.ศ.1930
3.2.2 อนุสัญญาเกี่ยวด้วยสถานะของบุคคลไร้รัฐ ด.ศ.1954
3.2.3 อนุสัญญาสหประชาชาชาติว่าด้วยการลดการไร้รัฐ ด.ศ.1961
3.2.4 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญชาติของหญิงที่สมรสแล้ว ค.ศ.1957
บทที่ 4 สัญชาติของบุคคลธรรมดา
4.1 การได้สัญชาติโดยการเกิด
4.1.1 หลักสายโลหิต
4.1.2 หลักดินแดน
4.2 การได้สัญชาติภายหลังการเกิด
4.2.1 การได้สัญชาติโดยการสมรส
4.2.2 การได้สัญชาติโดยการแปลงสัญชาติ
4.2.3 การได้สัญชาติกลับคืน
4.2.4 การได้สัญชาติเพราะการเปลี่ยนแปลงอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนของรัฐ
4.2.41 การเปลี่ยนแปลงอำนาจอธิปไตยเหนือดินแคนของรัฐทั้งหมด
4.2.4.2 การเปลี่ยนแปลงอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนของรัฐบางส่วน
4.3 ความแตกต่างระหว่างสถานะของสัญชาติที่ได้มาโดยการเกิดกับสัญชาติที่ได้มาภายหลังการเกิด
4.3.1 การใช้สิทธิในทางการเมืองของบุคคล
4.3.1.1 สิทธิในการเลือกตั้ง
4.3.1.2 สิทธิในการสมัครรับเลือกตั้ง
4.3.2 สิทธิในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพบางอย่าง
4.4 การเสียสัญชาติ
4.5 การมีสัญชาติมากกว่าหนึ่งสัญชาติของบุคคล
บทที่ 5 กฎหมายภายในว่าด้วยสัญชาติไทยของบุคคลธรรมดา
5.1 วิวัฒนาการกฎหมายสัญชาติของไทย
5.1.1 สถานะของบุคคลก่อนมีการบัญญัติกฎหมายสัญชาติ
5.1.2 สถานะของบุคคลหลังมีการบัญญัติกฎหมายสัญชาติ
5.2 พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
5.2.1 พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508
5.2.2 พระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535
5.2.3 พระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2535
5.2.4 พระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551
5.2.5 พระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2555
5.3 ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 337 พ.ศ.2515
บทที่ 6 การได้สัญชาติไทยโดยการเกิด
6.1 พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 มาตรา 7
6.1.1 มาตรา 7 เดิม
ฯลฯ
คำที่เกี่ยวข้อง
คำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลหนังสือกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลและคดีอาญากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีแผนกคดีบุคคลหนังสือกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองกฎหมายแผนกคดีบุคคลคำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยบุคคลระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล

สินค้าใกล้เคียง