อำนาจฟ้องคดีอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
ข้อมูลสินค้า
ราคา
600.00 540.00 บาท
ขายแล้ว
26 ชิ้น
ร้านค้า
อำนาจฟ้องคดีอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
ผู้แต่ง : สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
ปีที่พิมพ์ : ครั้งที่ 1 : ตุลาคม 2565
จำนวนหน้า : 704 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.(T)
รูปแบบ : ปกอ่อน
9789742038892
คำนำ
การดำเนินคดีอาญาเป็นการป้องกันสิทธิ เสรีภาพ ควบคุมสังคมให้อยู่ร่วมกันอย่าง
ปกติสุข จึงมีขั้นตอนการปฏิบัติที่เคร่งครัดตามลำดับเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ คู่ความ
ทุกฝ่าย อำนาจฟ้องเป็นสิ่งที่ต้องพิจารณาเป็นอันดับแรก โดยกำหนดให้เกิดจากอำนาจวัฐโดย
การสืบสวน สอบสวน การฟ้องคดีหรือโดยบุคคลที่เป็นผู้เสียหายผ่านการได่สวนมูดฟ้อง
การทำความเข้าใจจะทำให้ปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมายได้อย่างถูกต้อง ตั้งแด่การร้องทุกข์
จนถึงการฟ้องคดีต่อศาล เพราะหากไม่มีอำนาจฟ้องแล้ว กระบวนการต่าง ๆ ก็ไม่สามารถสู่ศาล
เพื่อดำเนินการพิจารณาได้ เสียโอกาสในการได้รับความเป็นธรรม ผู้เขียนได้รวบรวมข้อกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่มาแห่งอำนาจฟ้อง ปัญหาที่เกี่ยวข้องเพื่อให้คู่ความหรือผู้ที่สนใจ
นำไปศึกษาเปรียบเทียบกับคดีที่เกิดขึ้น แล้วมาประยุกด์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากมี
ข้อบกพร่องประการใด ผู้เขียนขอน้อมรับไว้เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงต่อไป
สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
ผู้พิพากษา
สารบาญ
บทที่ ๑ อำนาจฟ้องคดีอาญา
๑. ประเภทคดีอาญา
๒. การฟ้องคดีอาญา (มาตรา ๒๘-๒๙)
๓. ศาลที่ยื่นฟ้อง (มาตรา ๑๕๗)
บทที่ ๒ ผู้เสียหาย
๑. ผู้เสียหาย
๑) ผู้เสียหายโดยตรง (มาตรา ๒)
(๑) มีความผิดอาญาฐานใดฐานหนึ่งเกิดขึ้น
(๒) บุคคลนั้นต้คงได้รับความเสียหายเนื่องจากการกระทำความผิดคาญา...
(๓) ผู้เสียหายต้องได้รับความเสียหา ยจากการกระทำความผิดฐานนั้น
(๔) ผู้เสียหายโดยนิตินัย
๒) ผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหาย (มาตรา ๔-๖)
(๑) อำนาจจัดการแทนหญิงมีสามี (มาตรา ๔)
(๓) ผู้มีอำนาจจักการแทนผู้เสียหาย (มาตรา ๕)
(๓) ผู้แทนเฉพาะคดี (มากรา ๖)
บทที่ ๓ กระบวนการดำเนินคดีอาญา
๑. หลักเกณฑ์เบื้องต้น
๑) การดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ
๒) การดำเนินคดีอาญาโดยผู้เสียหาย
๒. การร้องทุกข์
๑) บททั่วไป
๒) หลักเกณฑ์การร้องทุกข์ตามระเบียบ
๓) แบบวิธีการร้องทุกข์
๔) การแก้หรือถอนคำร้องทุกข์ (มาตรา ๑๒๖)
๓. การสืบสวน สอบสวน
๑) ความเบื้องต้น
๒) การสืบสวน
(๑) หนักงานฝายปกครอง หรือตำรวจ (มาตรา ๒ (๑๖) (๑๗))
(๒) อำนาจหน้าที่ (มาครา ๑๗, ๘๔, ๘๗/๑, ๑๒๔)
(๓) การสืบสวน (มาครา ๒ (๑๐))
๓) การสอบสวน
(๑) หนักงานสอบสวน (มาครา ๒(๖), ๑๒๓)
(๒) อำนาจการสอบสวน (มาตรา ๑๘)
(๓) พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ (มาตรา ๑๙, ๒๐)
(๔) การรี้ขาดว่าหนักงานสอบสวนคนใดเป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ...
(มาตรา ๒๑, ๒๑/๑)
(๕) การสอบสวน (มาศรา ๒ (๑๑), ๑๒๐, ๑๒๙, ๑๒๐, ๑๓๐, ๑๒๘, ๑๓๑, ๑๓๒
๑co/ e, ๑๓๓, ๑๓๓ ทวิ, ๑๗๓ ตรี, ๑๓๗- ๑๓๙, ๑๕๕/๑)
(๖) ขั้นตอนดำเนินการของพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
(มาตรา ๑๔๐-๑๕๒)
๔) พนักงานอัยการ
(๑) อำนาจหน้าที่ (พ.ร.บ.องค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ. ๒๕๓๓
มาตรา ๑๔)
(๒) อัยการสูงสุดเป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ (มาตรา ๒๐)
(๓) การสั่งคดีของพนักงานอัยการ (มาตรา ๑๔๓-๑๔๔)
(๔) ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อมีคำสั่งไม่ฟ้อง (มาดรา ๑๔๕-๑๔๕/๑)
๔. การไต่สวนมูลฟ้อง
๑) การไก่สวนมูลฟ้อง (มาตรา ๒ (๑๒), ๑๖๒)
(๑) คดีที่ราษฎรเป็นโจทก์ (มาตรา ๑๖๒ (๑)
(๒) คดีที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ (มาตรา ๑๖๒ (๒))
อ) กระบวนพิจารณาไก่สวนมูลฟ้อง (มากรา ๑๖๕, ๑b๕/๑-๒, ๑๖๗, ๑๗๐)
๓) โจทก์ไม่มาตามกำหนดนัดในชั้นไก่สวนมูลฟ้อง (มาครา ๑b๖, ๑๘๑)
. การเข้าร่วมเป็นโจทก์ (มาครา ๓๐-๓๑)
๑) การขอเข้าร่วมเป็นโจทก็กับหนักงานอัยการ (มาตรา ๓๐)
๒) กรณีหนักงานอัยการขอเข้าร่วมโจทก์กับผู้เสียหาย (มาตรา ๓๑)
บทที่ ๔ อำนาจศาล
๑. เขตอำนาจศาล (มาตรา ๒๒)
๒. ศาดที่มีอำนาจชำระคดีความผิดเกี่ยวพันกัน (มาตรา ๒๔)
บทที่ ๕ สิท ธินำคดีอาญามาฟ้องระงับไป (มาตรา ๓๙)
๑. โดยความตายของผู้กระทำผิด (มาตรา ๓๙ (๑))
๒. ในคดีความผิดต่อส่วนตัว เมื่อได้ถอนคำร้องทุกข์ ถอนฟ้อง
หรือยอมความกันโดยถูกต้องตามกฎหมาย (มาตรา ๓๙ (๒))
๑ ในคดีความผิดต่อส่วนตัว เมื่อได้ถอนคำร้องทุกข์โดยถูกต้องตามกฎหมาย
-) ในคดีความผิดต่อส่วนตัว เมื่อได้ถอนฟ้องโดยถูกต้องดามกฎหมาย
การถอนฟ้องคดีอาญา (มาตรา ๓๕)
- ผลของการถอนฟ้อง (มาตรา ๓๖)
๓) ในคดีความผิดต่อส่วนตัว เมื่อได้ยอมความกันโดยถูกต้องตามกฎหมาย
ล.เมื่ออดีเลิกกันตามมาตรา ๓๗ (มาตรา ๓๙ (๓))
๔. เมื่อมีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟือง (มาตรา ๓๙ (๔))
๕. เมื่อมีกฎหมายคอกใช้กายหลังการกระทำความผิดยกเลิกความผิดเช่นนั้น
(มาตรา ๓๙ (๕))
๖. คดีขาดอายุความ (มาตรา ๓๓ (๖))
เมื่อมีกฎหมายยกเว้นโทษ (มาตรา ๓๒ (๗))
บทที่ คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
๑. บททั่วไป
อ. หลักเกณฑ์การฟ้องคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา (มาตรา ๔0-๔๓)
,. การพิพากษาคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา (มาตรา ๔๖-๔๗)
๔. การบังคับคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา (มาตรา ๕0)
๙. อายุความ (มาตรา ๕๑)
.หลักเกณฑ์การขอให้บังคับจำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
(มาตรา ๔๔/๑, ๔๔/๒)
บทที่ ๗ การบรรยายฟ้อง ตรวจฟ้อง แก้หรือเพิ่มเติมฟ้อง และคำให้การ
๑. การบรรยายฟ้อง (มาตรา ๑๕๘-๑๖๐)
๒. การตรวจฟ้อง (มาตรา ๑๖๑-๑๖๒)
๓. การแก้หรือเพิ่มเติมฟ้องและคำให้การ (มาตรา ๑๖๓-๑๖๔)
บทที่ ๘ อำนาจฟ้องกับพระราชบัญญัติที่สำคัญ
๑. ประมวลกฎหมายที่ดิน
๒. มอบอำนาจ
๓. พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
๔. พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
๕. พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
๖. พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
๗. พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗
๘. พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๒๘.
พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ. ๒๔๘๔
๙. พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของ
ผู้ดำรงจำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. ๒๕๕๒
๑๐. ศาลยุติธรรมกับศาลทหาร
๑๑. พนักงานอัยการ
๑๒. คำพิพากษาขัดกัน
๑๓. พ.ร.บ.การรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาไหม่ พ.ศ. ๒๕๒b
๑๔. นิติบุคคล
๑๕. พ.ร.บ.กำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัพจำ