พร้อมส่ง/แยกเล่ม หนังสือ บริหารงานด้วยกลยุทธ์สามก๊ก/ภูมิปัญญาสามก๊ก/ศิลปะการใช้กลยุทธ์ในสามก๊ก หนังสือสามก๊ก บริหาร
พร้อมส่ง-แยกเล่ม-หนังสือ-บริหารงานด้วยกลยุทธ์สามก๊ก-ภูมิปัญญาสามก๊ก-ศิลปะการใช้กลยุทธ์ในสามก๊ก-หนังสือสามก๊ก-บริหาร
#บริหารงานด้วยกลยุทธ์สามก๊ก
ถอดบทเรียน 46 บทเรียนในสามก๊ก ที่นักบริหารในสมรภูมิธุรกิจไม่อาจมองข้าม เพราะเต็มไปด้วยกลยุทธ์นานัปการ ที่นักธุรกิจหรือนักบริหารในปัจจุบันที่สามารถนำมาปรับใช้ได้ แม้ว่าโลกปัจจุบัน แม้โลกปัจจุบันจะหมุนไปอย่างรวดเร็ว องค์ความรู้ และยุทธ์วิธีต่างๆ ในการบริหารก็จะมีองค์ความรู้ใหม่ๆ แนวทางหรือทิศทางหลากหลายมากขึ้นก็จริง แต่ทว่าหลักคิดในวรรณกรรมสามก๊ก ไม่เคยล้าสมัย เมื่อใช้ปัญญาพิเคราะห์ยิ่งจะเห็นถึงกลยุทธ์ที่แจ่มชัดมากยิ่งขึ้น
สารบัญ : บริหารงานด้วยกลยุทธ์สามก๊ก
ภาค1 ว่าด้วยการใช้คน
ภาค2 ว่าด้วยการกำหนดนโยบาย
ภาค3 ว่าด้วยการอบรมบ่มเพาะ
ภาค4 ว่าด้วยการปกครอง
ภาค5 ว่าด้วยการจัดจำหน่าย



#ศิลปะการใช้กลยุทธ์ในสามก๊ก
สามก๊ก เป็นสุดยอดวรรณคดีที่มีความโดดเด่นทั้งด้านวรรณศิลป์และกลวิธีในการเขียน สามารถถ่ายทอดเรื่องราวประวัติศาสตร์ได้อย่างมีอรรถรส แฝงไปด้วยกลยุทธ์อันถือเป็นผลึกแห่งสติปัญญา ซึ่งกลยุทธ์เหล่านี้ไม่ได้เหมาะสำหรับการทำศึกสงครามเท่านั้น แต่ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในด้านเศรษฐกิจ การเมือง การทูต หรือแม้แต่การดำเนินชีวิตประจำวัน หากใครสามารถตกผลึกทางความคิดที่อยู่ในเนื้อเรื่องและนำไปใช้อย่างเหมาะสม ก็จะประสบความสำเร็จได้ในเวลาอันสั้น หนังสือ ‘ศิลปะการใช้กลยุทธ์ในสามก๊ก’ โดย ‘บุญศักดิ์ แสงรวี’ เล่มนี้ เป็นการกะเทาะแก่นในการวิเคราะห์กลศึกในศึกสำคัญต่าง ๆ ของสามก๊ก เพื่อนำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างชาญฉลาด รวมไปถึงการทำงานอย่างมีชั้นเชิง โดยหนังสือเล่มนี้ได้มีการรวบรวมกลยุทธ์ไว้หลากหลาย พร้อมกับแบ่งหมวดหมู่เพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณาและนำไปใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ อาทิ การโจมตีทางใจ การต่อสู้ทางสติปัญญา จ้องฉวยโอกาส ชนะด้วยการทูต เป็นต้น กลยุทธ์เหล่านี้ถูกถ่ายทอดออกมาผ่านการเล่าเรื่องราวการใช้กลยุทธ์ที่แตกต่างกันไปในแต่ละสถานการณ์
สารบัญ : ศิลปะการใช้กลยุทธ์ในสามก๊ก
บทที่1 การโจมตีทางใจ
บทที่ 2 การต่อสู้ทางสติปัญญา
บทที่ 3 จ้องฉวยโอกาส
บทที่ 4 ชนะด้วยการทูต
บทที่ 5 โน้มน้าวด้วยวาทะ
บทที่ 6 รวบรวมบุคลากร
บทที่ 7 ช้ากับเร็ว
บทที่ 8 ตื้นลึกหนาบาง
บทที่ 9 รุกกับรับ
บทที่ 10 ลวงข้าศึก
บทที่ 11 กลซ้อนกล
บทที่ 12 ยั่วยุด้วยปัญญา
บทที่ 13 ใช้ไส้ศึก


#ภูมิปัญญาสามก๊ก
ภูมิปัญญาสามก๊ก โดย บุญศักดิ์ แสงระวี เป็นการหยิบยกเรื่องราวแต่ละสถานการณ์สำคัญ หรือในบางสถานการณ์ที่มีจุดวิเคราะห์เรื่องราว นำมาวิเคราะห์ในเชิงปรัชญา ทั้งด้านการเมือง การปกครอง การบริหาร เมื่อวิเคราะห์อย่างละเอียด จะได้แง่คิด และมุมมองใหม่ที่เหมือนเดิมทุกครั้งที่วิเคราะห์ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ๆ สามารถนำไปปรับใช้กับงานด้านต่างๆตัวอย่างเช่น รบเพื่อยึดครองใจ มิใช่ยึดครองเมือง ศัตรูกลับหลายเป็นมิตรทั้งเมือง ศัตรูกลับกลายเป็นมิตรทั้งเมือง นี่เป็นประเด็นที่น่าสนใจยิ่ง เพราะชัยชนะที่ยิ่งใหญ่นั่นคือชนะใจศัตรู ยิ่งศัตรูให้ความนับถือ นั่นคือสุดยอดแห่งชัยชนะศึกษาประเด็นนี้ก็จะรู้ว่ายิ่งใหญ่จริง กลวิธีเป็นเยี่ยงไร เรียนรู้จากหนังสือเรื่องนี้
ขุมสมบัติคุณค่ามหาศาลในแต่ละเรื่องราว อยู่ในวรรณกรรมเรื่องนี้ทั้งสิ้น เพราะนี่คือกรุสมบัติทางปัญญา...ที่ทรงคุณค่ามหาศาล จงอ่านเพื่อศึกษา และกะเทาะแก่นปัญญานั้นออกมาใช้
สารบัญ : ภูมิปัญญาสามก๊ก
- กวนอูตัดหัวฮัวหยงในพริบตา ไยนายกองโค่นขุนพลใหญ่สำเร็จ
- อวสานของลิโป้สิงห์สำอาง ไยขุนพลชำนาญศึกพบจุดจบน่าสมเพช
- โจโฉอุ่นสุราถามหาวีรบุรุษ สิ่งที่เห็นภายนอกอาจเป็นภาพลวงตา
- เตียวหุยลั่นกลองลองใจกวนอู การแยกแยะเท็จ-จริงสองขั้นตอน
- อ้วนเสี้ยวพ่ายยับเยินที่กัวต๋อ ไยโจโฉพิชิตทัพใหญ่กว่าถึง 10 เท่า
- ขงเบ้งเผยไต๋ในหลงจง ไยคนหนุ่มในกระท่อมหญ้าจึงรอบรู้นัก
- รบแรกของขงเบ้งที่พกป๋อง “ทุกคนออกรบ ท่านอยู่ใด?”
- ถล่มเหล่าเมธีด้วยฝีปาก ทัพใหญ่แต่มิเป็นใจเดียวฤาจักชัยชนะ
- ยั่วยุจิวยี่ด้วยปัญญา จะรบกับทัพใหญ่หรือจะยอมจำนน
- ชัวมอ-เตียวอุ๋วหัวกระเด็น ไยโจโฉตกหลุมพรางจิวยี่ง่ายดาย
- ขงเบ้งพรางเรือยืนเกาทัณฑ์ เขาเป็นผู้วิเศษล่วงรู้ดุจเทวดาหรือ?
- โจโฉแตกทัพที่เซ็กเพ็ก ขงเบ้งเรียกฟ้า-ลมได้จริงหรือ?
- เล่าปี่ได้ลสภสัตว์สองเท้า พลิกผันเรื่องร้ายให้กายเป็นดี
- แผนที่ลับเมืองเสฉวนของเตียวสง เล่าปี่มีน้ำใจไมตรีได้สิ่งพึงใจเกินคาด
- การเผา “ตำราพิชัยสงครามโจโฉ” ทำไมโจโฉจึงสั่งเผาตำราตนเอง
- เตียวหุยใช้อุบายจับเงียบหงัน ยุทธภูมิเป็นรองกลยุทธืเป็นเลิศ
- อองตงบุกยึดเตงกุนสาน ไยขุนพลเฒ่ารบชนะขุนศึกโจโฉ
- กวนอูถือง้าวเข้างานเลี้ยง ไฉนจึงเดินหน้าหาศัตรูโดยลำพัง
- กวนอูทดน้ำท่วม 7 ทัพ “รบบนบก เหตุใดจึงต่อเรือ”
- กวนอูพ้ายหนีจนตรอกที่เป๊กเลีย เหตุใดขุนพลชำนาญศึกสิ้นท่าสิ้นชีพ
- เตียวหุยคอขาดตามอวนอู ขุนพล “สู้คนได้เป็นหมื่น ไยแพ้ภัยตนเอง”
- เล่าปี่พ่ายศึกที่อูเต๋ง ไยทัพ 70 หมื่นพ่ายศึกยับเยินเช่นนี้
- ขงเบ้งสยบทัพ 5 ลู่ ร้อยรบร้อยชนะ มิสู้ชนะโดยมิต้องรบ
- “เจ็ดจับเจ็ดปล่อย” เบ้งเฮ็ก รบทางใจเป็นเอก รบทางทหารเป็นรอง
- เบ้งตัดเสียหัวสุมาอี้ “คิดได้” แต่กว่าจะ “คิดเป็น” ก็หัวหาย
- ม้าเจ๊กคอขาดเพราะเกเต๋ง ไยแม่ทัพเซี่ยวการยุทธ์พ่ายหมดรูป
- ขงเบ้งดีดพิณลวงสุมาอี้ ไยเสี่ยงพิณจึงหยุดทัพ 15 หมื่น
- ขงเบ้งเพิ่มเตาถอยทัพ ไยสุมาอี้ผู้มากประสบการณ์ จึงลวงกล
- โศกนาฏกรรมของโจมอ “มังกรซ่อนตัว” มิใช่ “มังกรซ่อนเล็บ”
เตงงายฝ่า “ทางตาย” บุกอินเป้ง “ไม่เข้าถ้ำเสือไฉนจะได้ลูกเสือ”
คำที่เกี่ยวข้อง
กลยุทธ์สามก๊กสามก๊กกลยุทธ์สำเร็จ ได้ ทุก สถานการณ์ ด้วย กลยุทธ์ ใน สามก๊กศิลปะการใช้คนในสามก๊กหนังสือ สามก๊กสามก๊กกลยุทธ์ บอร์ดเกมสามก๊ก ฉบับนักบริหารหนังสือการ์ตูน สามก๊กหนังสือการ์ตูนสามก๊กสามก๊ก

สินค้าใกล้เคียง