ถุงมือกันบาด ทำจากผ้า เคลือบ Nitrile Palm Coated CUT5 สีดำ
ถุงมือกันบาด-ทำจากผ้า-เคลือบ-nitrile-palm-coated-cut5-สีดำ
ข้อมูลสินค้า
ราคา
109.00 บาท
ร้านค้า
ถุงมือกันบาด ทำจากผ้า เคลือบ Nitrile Palm Coated CUT5 สีดำ อุปกรณ์จราจร เทปกั้นเขต โซ่พลาสติก ราคาปลีก-ส่ง จัดส่งทั่วประเทศ ติดต่อ 081-682-1555

– เหมาะสำหรับงานหยิบจับกันบาด ระดับ 5
– ผลิตจากผ้าถักทอ เคลือบไนไตรปาล์ม สีดำกันลื่น และกันบาดระดับ 5

CUT Resistant Glove
CUT5 Cut Resistant Glove
With Nitrile Palm Coated, Dyneema / Spectra lining.
ถุงมือผ้ากันบาด
ถุงมือผ้า กันบาด มีความจำเป็นอย่างมากในการทำงาน ตราบใดที่เรายังคงใช้มือในการทำงาน ดังนั้นอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมือจึงยังคงเป็นปัญหาหลักของการทำงาน

จากสถิติอุบัติเหตุการประสบอันตรายในประเทศไทย เราพบว่าส่วนของร่างกายที่เกิดอุบัติเหตุสูงที่สุดก็คือนิ้วแล้วก็มือนั่นเอง โดยลักษณะอันตรายส่วนใหญ่จะเป็นอันตรายในเชิงกล เช่นการบาทการเฉือนหรือการตัดจากการที่ไม่ได้สวมใส่ถุงมือป้องกัน

สำหรับวิธีการป้องกันที่ดีที่สุดก็คงจะหนีไม่พ้นในเรื่องของการจัดการทางด้านเอ็นจิเนียริ่งคอนโทรล Engineering Control หรือแก้ที่ต้นตอของปัญหานั้นเอง หรืออีกทางเลือกหนึ่งก็คือการกำหนดมาตรการจัดการในการสวมถุงมือที่เหมาะสมนั่นเอง

แต่อย่างไรก็ตามเพื่อให้เกิดความมั่นใจในการป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับมือ การใช้ถุงมือกันบาดก็จะเป็นทางเลือกที่ต้องถูกนำมาใช้

ปัจจุบันมีหลายองค์กรกำหนดมาตรฐานถุงมือกันบาดออกมาใช้งานโดยกำหนดระดับในการป้องกันการบาดไว้ 9 ระดับบ้าง 6 ระดับบ้าง โดยมีอยู่ 3 มาตรฐานหลักที่มีการกำหนดระดับในการป้องกันการบาดไว้ 6 ระดับ นั่นก็คือมาตรฐานของสมาคมยุโรป EN388 มาตรฐานของอเมริกา astm 1790 และมาตรฐานสากล iso13 9979 โดยทั้ง 3 ระบบนี้จะมีวิธีการในการทดสอบและการกำหนดคุณสมบัติการบาทที่แตกต่างกันออกไปนั่นเอง

ส่วนมาตรฐาน ansi astm a105 ปี 2016 กำหนดการป้องกันการบาดไม่ถึง 9 ระดับด้วยกัน ลองเปรียบเทียบถุงมือ ในระดับเดียวทั้ง 6 ระดับ พบว่าเข้มที่สุดจะเป็นมาตรฐานสากล ISO 13997 รองลงมาก็คือมาตรฐานอเมริกา astm 1790 และของสมาคมยุโรป En 388 ตามลำดับ

สาเหตุที่ทำให้มาตรฐานของทั้ง 3 ระดับนั้นมีความเข้มที่ต่างกันก็มาจากวิธีในการทดสอบการกำหนดหน่วยวัดในการทดสอบถุงมือนั่นเอง สำหรับมาตรฐานสากล ISO 13997

เราจะใช้วิธีการทดสอบถุงมือโดยใช้เครื่อง EDM Machine ใช้หน่วยวัดแรงเป็นนิวตันในการที่จะทำให้ถุงมือขาดในการทดสอบส่วนวิธีการทดสอบตามมาตรฐานอเมริกานั้นหรือ astm d790 เราใช้วิธีการทดสอบโดยเครื่อง cpt Machine และใช้หน่วยวัดกรัมซึ่งเป็นหน่วยวัดน้ำหนักเป็นตัวทดสอบ

สำหรับวิธีการทดสอบตามมาตรฐานของถุงมือของสมาคมเราจะใช้วิธีแบบเทปโดยกำหนดหน่วยวัดเป็นรอบในการตัดแล้วก็น้ำหนักเป็นกรัมในการทดสอบนั่นเองสำหรับมาตรฐาน ISO และ astm นั้นจริงๆแล้วการทดสอบของทั้งสองมาตรฐานนี้วิธีการทดสอบที่มีความคล้ายคลึงกันมากแตกต่างกันแค่หน่วยวัดที่ใช้ในการกำหนดมาตรฐาน

ซึ่งวิธีการนี้จะมีความแม่นยำและมีความคลาดเคลื่อนน้อยกว่าวิธีการแบบกรุ๊ปเทสต์เพราะมีการเปลี่ยนใบมีดทุกครั้งที่มีการทดสอบและวิธีการแบบกรุ๊ปเทสต์นั้นในแต่ละรอบที่ทำการตัดถุงมือนั้นความคมของใบมีดแต่ลดลง ถ้าเจอเส้นใยของถุงมือที่มีความทนต่อการบาดมากๆจะทำให้ใบมีดนั้นมีการสึกได้ในระหว่างการทดสอบจึงทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนเล็กน้อย

ซึ่งทางคณะทำงานของสมาคมยุโรปก็เห็นถึงข้อด้อยนี้เหมือนกันโดยมีการปรับมาตรฐานฉบับใหม่ของ en388 เมื่อปี 2016 นั่นเอง โดยการนำเรื่องนี้เข้ามาพัฒนาโหลดเป็นมาตรฐานถุงมือด้วยโดยเพิ่มรหัสจาก 4 รหัสเป็น 6 รหัสนั่นเอง

แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นไม่ว่าเราจะใช้ถุงมือที่อ้างอิงมาตรฐานอะไร ถ้าเรามีความเข้าใจในมาตรฐานเราก็จะสามารถที่จะเลือกใช้ถุงมือป้องกันการบาดได้อย่างเหมาะสมกับงานของเรานั่นเอง

สำหรับในประเทศไทย หน่วยมาตรฐานที่ได้รับความนิยมสำหรับถุงมือกันบาด ก็คือมาตรฐานของสหภาพยุโรปนั้นเองหรือ EN388 โดยมาตรฐานดังกล่าวนี้ชื่อเต็มๆว่าเป็นมาตรฐานการป้องกันในลักษณะทางกายภาพเชิงกลของถุงมือ

ซึ่งในปัจจุบันนี้มันจะมีอยู่ 2 เวอร์ชั่นด้วยกันก็คือ EN388 เวอร์ชั่นปี 2003 แล้วก็ที่จะนำมาใช้ต่อไปน่าจะถึง EN388 ในเวอร์ชั่นปี 2016 โดยทั้งสองนี้จะกำหนดรหัสถุงมือไว้ดังนี้มาตรฐาน En 388 2003

En388 ในเวอร์ชั่นปี 2016 โดยทั้งสองนี้จะกำหนดรหัสถุงมือไว้ดังนี้มาตรฐาน EN388 มี 4 รหัสด้วยกันโดยกำหนดเป็น a b c และ D ส่วนมาตรฐาน EN388 ปี 2016 จากกำหนดคุณสมบัติถุงมือเพิ่มขึ้นมาเป็น 6 รหัสก็คือรหัสเดิม a b c d และเพิ่มขึ้นมานั้นเอง

A หมายถึงการทนต่อการเสียดสีจะมีระดับอยู่ทั้งหมด 4 ระดับด้วยกัน

B หมายถึงการทนต่อการตัดหรือการบาดวิธีการทดสอบก็คือแบบกรุ๊ปเทสต์นั่นเอง

ระดับ 1-5 หมายถึงการทนต่อการฉีกมีระดับ 1-4 ดีหมายถึงทนต่อการเจาะมีระดับ 1-4 เช่นกัน ซึ่งหมายถึงการทนต่อการตัดตามมาตรฐาน ISO 1397 ใช้วิธีการทดสอบแบบ GDM จะแบ่งระดับ NEF ด้วยกัน

หมายถึงการทนต่อการกระแทก ถ้าผ่านการทดสอบก็จะแสดงเป็นสัญลักษณ์ ทีถ้าไม่ผ่านการทดสอบก็จะแสดงเป็นตัว FX นั่นเอง แต่โดยปกติหมายเลขรหัสดังกล่าว หากตัวใดตัวหนึ่งไม่ได้ทำการทดสอบก็จะระบุเป็นตัว x เอาไว้ แทนตัวเลขหรือสัญลักษณ์ในการแสดงระดับนั่นเอง

โดยต่อไปนี้จะแสดงตารางเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการป้องกันถุงมือของมาตรฐานทั้ง 3 ค่ายเลยโดยตัวเลขยิ่งมากหรือตัวหนังสือที่เพิ่มขึ้นหมายถึงคุณสมบัติในการป้องกันการบาดที่ดีขึ้นนั่นเอง

จากความเข้าใจในมาตรฐานถุงมือป้องกันการบาดดังกล่าว ก็คงจะเป็นแนวทางในการเลือกถุงมือให้เหมาะสมกับการทำงานมากยิ่งขึ้น

ขอให้ทุกท่านศึกษามาตรฐานให้เข้าใจก่อนเลือกซื้อเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความเหมาะสมในการนำมาใช้งานนั่นเอง
Sandy Finished
คำที่เกี่ยวข้อง
ถุงมือผ้าเคลือบยาง ถุงมือไนล่อน ถุงมือทำงาน ถุงมือใส่ทำงาน ถุงมือกันบาดถุงมือกันบาดสีขาวถุงมือกันบาดถุงมือผ้ากันบาดถุงมือทำสวน กันบาดถุงมือทำอาหารกันบาดถุงมือ กันบาด milwaukeeถุงมือกันบาด 3mถุงมือกันบาด tongaถุงมือกันบาด ingco

สินค้าใกล้เคียง