มานุษยวิทยาพ้นมนุษย์ Posthuman Anthropology ยุกติ มุกดาวิจิตร, ชัชชล อัจนากิตติ
ข้อมูลสินค้า
ราคา
380.00 บาท
ร้านค้า
มานุษยวิทยาพ้นมนุษย์ Posthuman Anthropology ยุกติ มุกดาวิจิตร, ชัชชล อัจนากิตติ
สำนักพิมพ์ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร พ.ศ. ๒๕๖๔ มี ๒๒๔ หน้า ISBN
978-616-7154-99-2
บทนำ : มานุษยวิทยาพ้นมนุษย์
ยุกติ มุกดาวิจิตร, ชัชชล อัจนากิตติ
วิธีวิทยาใน STS
จักรกริช สังขมณี
หลากสายพันธุ์นิพนธ์ : วิธีวิทยาเกี่ยวกับโลกหลากสายพันธุ์
พนา กันธา
แนววิธีเชิงวัตถุ : จากวัตถุวัฒนธรรมศึกษาสู่สภาวะ
พรรณราย โอสถาภิรัตน์
พื้นที่ศึกษาในมุมมานุษยวิทยา : มโนทัศน์และวิธีวิทยา
จิราพร เหล่าเจริญวงศ์
เชื่อมสัมพันธ์ผัสสะในปฏิบัติการทางชาติพันธุ์นิพนธ์
ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
มานุษยวิทยาดิจิทัล : ทฤษฎีและวิธีวิทยาศึกษาสังคมดิจิทัล
ยุกติ มุกดาวิจิตรคำนิยม
ความเป็นลักษณะพิเศษของหนังสือเล่มนี้อยู่ที่ผู้เขียนได้พยายามชี้ให้เห็นว่าประเด็นที่เกี่ยวกับชาติพันธุ์ล้วนแล้วแต่มีนัยของการเมืองแฝงอยู่ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ที่นำไปสู่สงครามกลางเมือง อคติและการเหยียดเชื้อชาติ หรือแม้แต่การเลือกใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์ การจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ กระบวนทัศน์การศึกษาชาติพันธุ์ รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างชาติพันธุ์กับรัฐชาติและปรากฏการณ์โลกาภิวัตน์ที่นำมาซึ่งขบวนการเคลื่อนไหวของกลุ่มชาติพันธุ์และชนพื้นเมืองในปัจจุบัน
ชยันต์ วรรธนะภูติ
หนังสือเล่มนี้นำเสนอข้อถกเถียงได้อย่างมีพลัง ด้วยการทบทวนแนวความคิดและกรณีศึกษาต่าง ๆ ในความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์อันหลากหลาย พร้อมทั้งความเคลื่อนไหวต่อสู้ของพวกเขา จนช่วยเผยให้เห็นมายาคติของความคิดชาตินิยมอันคับแคบในรัฐชาติอย่างชัดเจน เพราะมักยึดติดอยู่ในกับดักของความคิดชาติพันธุ์เชิงเดี่ยวแบบไทยแท้ แม้จะขัดแย้งกับโลกของความเป็นจริง ที่กำลังเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สภาวะไร้พรมแดนและความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมมากขึ้นสักเพียงใดก็ตาม
อานันท์ กาญจนพันธุ์
สารบัญ
.
บทที่ 1 นิยามและพัฒนาการของชาติพันธุ์สัมพันธ์
- กลุ่มชาติพันธุ์
- ชาติพันธุ์สัมพันธ์
- พัฒนาการของการศึกษาชาติพันธุ์สัมพันธ์
- สรุป
บทที่ 2 การเมืองของการเรียกชื่อ
- เชื้อชาติ
- ชนเผ่า
- ชนชาติและชาติ
- กลุ่มชาติพันธุ์
- ชนพื้นเมือง
- สรุป
บทที่ 3 การเมืองของการจำแนกกลุ่มชนในสังคม
- การจำแนกความแตกต่างของมนุษย์อย่างเป็นวิทยาศาสตร์
- รัฐชาติกับการเมืองในการจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์
- สรุป
บทที่ 4 กระบวนทัศน์การศึกษาชาติพันธุ์สัมพันธ์
- กระบวนทัศน์พื้นฐานนิยม
- กระบวนทัศน์เครื่องมือนิยม
- กระบวนทัศน์การสร้างนิยม
- สรุป
บทที่ 5 รัฐชาติกับชาติพันธุ์สัมพันธ์
- รัฐชาติสมัยใหม่กับชาติพันธุ์สัมพันธ์
- ชาตินิยมกับชาติพันธุ์สัมพันธ์
- รัฐกับการพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์
- สรุป
บทที่ 6 โลกาภิวัตน์กับการท่องเที่ยวชาติพันธุ์
- โลกาภิวัตน์กับการท่องเที่ยว
- การท่องเที่ยวชาติพันธุ์
- การกลายเป็นสินค้าของการท่องเที่ยวชาติพันธุ์
- สรุป
บทที่ 7 ขบวนการเคลื่อนไหวของชนพื้นเมือง
- สิทธิมนุษยชน
- ขบวนการเคลื่อนไหวของชนพื้นเมืองนานาชาติ
- ขบวนการเคลื่อนไหวของชนพื้นเมืองในประเทศไทย
- สรุป
บทที่ 8 การเมืองของชาติพันธุ์สัมพันธ์
- การเมืองของความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์
- การเมืองของคำและแนวคิดการศึกษาชาติพันธุ์สัมพันธ์