คำอธิบายกฎหมายหนี้ : วัตถุแห่งหนี้ - ผลแห่งหนี้ - ลูกหนี้ - เจ้าหนี้หลายคน
หนังสือใกล้หมด โปรดสอบถามก่อนสั่งซื้อ
จำนวน :222 หน้า
ผู้แต่ง :พันตำรวจเอก (พิเศษ) วิชาญ จำปีศรี
ขนาดรูปเล่ม :186 x 257 มิลลิเมตร
ความหนา :12 มิลลิเมตร
เนื้อในพิมพ์ :ขาว-ดำ
คำอธิบายกฎหมายหนี้ :
๐ วัตถุแห่งหนี้
๐ ผลแห่งหนี้
๐ ลูกหนี้ - เจ้าหนี้หลายคน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บรรพ 2 ลักษณะ 1 หมวด 1 - 3
มาตรา 194 - 302
หมวด 1 วัตถุแห่งหนี้
มาตรา 194 สิทธิของเจ้าหนี้ที่จะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้
มาตรา 195 วัตถุแห่งหนี้
มาตรา 196 หนี้เงินที่แสดงไว้เป็นเงินตราต่างประเทศ
มาตรา 197 การยกเลิกมีขึ้นในเวลาที่จะต้องส่งเงินใช้หนี้นั้น
มาตรา 198 กำหนดพึงกระทำเพื่อชำระหนี้
มาตรา 199 การเลือกการชำระหนี้
มาตรา 200 ระยะเวลาที่ใช้สิทธิเลือก
มาตรา 201 การตกลงให้บุคคลภายนอกเลือกชำระหนี้
มาตรา 202 การชำระหนี้อย่างใดอย่างหนึ่งตกเป็นพ้นวิสัย
หมวด 2 ผลแห่งหนี้
ส่วนที่ 1 การไม่ชำระหนี้
มาตรา 203 หนี้มีกำหนดเวลา และไม่มีกำหนดเวลา
มาตรา 204 ลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้
มาตรา 205 พฤติการณ์อันใดอันหนึ่ง ซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ
มาตรา 206 ลูกหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัดนับแต่เวลาที่ละเมิด
มาตรา 207 ลูกหนี้ขอปฏิบัติในการชำระหนี้
มาตรา 208 ต้องชำระหนี้ให้ตรงกับวัตถุแห่งหนี้
มาตรา 209 เจ้าหนี้ต้องทำการบางอย่างก่อนที่จะให้ลูกหนี้ชำระหนี้
มาตรา 210 หนี้ต่างตอบแทน
มาตรา 211 ลูกหนี้ไม่อยู่ในฐานะที่จะชำระหนี้ได้
มาตรา 212 เจ้าหนี้มีเหตุขัดข้องชั่วคราว
มาตรา 213 วิธีการบังคับชำระหนี้
มาตรา 214 สิทธิการบังคับคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน
มาตรา 215 สิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทน
มาตรา 216 เจ้าหนี้บอกปัดไม่รับชำระหนี้เพราะไร้ประโยชน์
มาตรา 217 ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้นเพราะผลของการผิดนัด
มาตรา 218 การชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยซึ่งลูกหนี้ต้องรับผิดชอบ
มาตรา 219 การวิสัยที่ลูกหนี้หลุดพ้นจากการชำระหนี้
มาตรา 220 ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบในตัวแทนของตน
มาตรา 221 เจ้าหนี้ผิดนัด คิดดอกเบี้ยหนี้ไม่ได้
มาตรา 222 ค่าเสียหายที่เรียกร้อง
มาตรา 223 ผู้เสียหายมีส่วนทำผิดก่อให้เกิดความเสียหาย
มาตรา 224 ค่าเสียหายเป็นเงิน
มาตรา 225 คิดดอกเบี้ยจากค่าสินไหมทดแทนราคาวัตถุแห่งหนี้
ส่วนที่ 2 รับช่วงสิทธิ
มาตรา 226 ช่วงสิทธิ และช่วงทรัพย์
มาตรา 227 ลูกหนี้เป็นผู้รับช่วงสิทธิ
มาตรา 228 ช่วงทรัพย์
มาตรา 229 การรับช่วงสิทธิย่อมมีขึ้นด้วยอำนาจกฎหมาย
มาตรา 230 การชำระหนี้แทนลูกหนี้ โดยบุคคลภายนอก ฯ
มาตรา 231 ขอบเขตการบังคับช่วงทรัพย์ที่ประกันวินาศภัยไว้
มาตรา 232 หนี้ยังไม่ถึงกำหนด
ส่วนที่ 3 การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
มาตรา 233 เหตุที่เจ้าหนี้จะใช้สิทธิในนามของตนเอง
มาตรา 234 หมายเรียกลูกหนี้เข้ามาในคดี
มาตรา 235 เจ้าหนี้ใช้สิทธิเรียกร้องได้เพียงใด
มาตรา 236 บุคคลภายนอกอาจยกข้อต่อสู้ที่มีต่อลูกหนี้ (เดิม) ขึ้นต่อสู้ได้
ส่วนที่ 4 เพิกถอนการฉ้อฉล
มาตรา 237 เหตุที่จะเพิกถอนการฉ้อฉลได้ และวิธีการเพิกถอน
มาตรา 238 ผลของการเพิกถอนการฉ้อฉล
มาตรา 239 เจ้าหนี้ทุกคนได้ประโยชน์จากการเพิกถอน
มาตรา 240 อายุความฟ้องคดี
ส่วนที่ 5 สิทธิยึดหน่วง
มาตรา 241 ลักษณะของสิทธิยึดหน่วง
มาตรา 242 เหตุที่สิทธิยึดหน่วงไม่มี
มาตรา 243 ข้อยกเว้นให้ใช้สิทธิยึดหน่วงได้ก่อนหนี้ถึงกำหนด
มาตรา 244 สิทธิยึดหน่วงแบ่งแยกไม่ได้
มาตรา 245 คลุมถึงดอกผล จัดสรรชำระหนี้
มาตรา 246 สิทธิและหน้าที่ของเจ้าหนี้ (ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วง)
มาตรา 247 เจ้าหนี้เรียกให้ชดใช้ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับทรัพย์สิน
มาตรา 248 การใช้สิทธิยึดหน่วงไม่ทำให้อายุความสะดุดหยุดลง
มาตรา 249 ลูกหนี้หาประกันให้แทน
มาตรา 250 การครองทรัพย์สินสูญสิ้นไปทำให้สิทธิยึดหน่วงระงับไป
ส่วนที่ 6 บุริมสิทธิ
มาตรา 251 บุริมสิทธิคืออะไร
มาตรา 252 สิทธิที่แบ่งแยกไม่ได้
มาตรา 253 บุริมสิทธิสามัญ
มาตรา 254 ค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน
มาตรา 255 ค่าปลงศพ
มาตรา 256 ค่าภาษีอากร
มาตรา 257 ค่าจ้าง เสมือน คนใช้ คนงาน
มาตรา 258 ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำเป็นประจำวัน
มาตรา 259 บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์
มาตรา 260 เช่าอสังหาริมทรัพย์
มาตรา 261 เช่าที่ดินหรือโรงเรือน
มาตรา 262 การโอนการเช่า หรือให้เช่าช่วง
มาตรา 263 จำนวนหนี้ที่อยู่ในบังคับของบุริมสิทธิ
มาตรา 264 กรณีมีเงินประกันสัญญาเช่า
มาตรา 265 พักอาศัยในโรงแรม
มาตรา 266 ผู้ทรงบุริมสิทธิบังคับจำนองผู้รับจำนำ
มาตรา 267 บุริมสิทธิในมูลรับขน
มาตรา 268 ใช้บุริมสิทธิเหนือสังหาริมทรัพย์ของบุคคลภายนอก
มาตรา 269 บุริมสิทธิในมูลรักษาสังหาริมทรัพย์
มาตรา 270 บุริมสิทธิในมูลซื้อขายสังหาริมทรัพย์
มาตรา 271 ค่าซื้อขายเม็ดพันธุ์ ไม้พันธุ์ ปุ๋ย
มาตรา 272 ค่าแรงงานเพื่อกสิกรรม , อุตสาหกรรม
มาตรา 273 มูลหนี้ของบุริมสิทธิเหนืออสังหาริมทรัพย์ ฯ
มาตรา 274 มูล (หนี้) รักษาอสังหาริมทรัพย์
มาตรา 275 มูลจ้างทำของ
มาตรา 276 มูลซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
มาตรา 277 บุริมสิทธิสามัญหลายรายแย้งกัน
มาตรา 278 บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์หลายรายแย้งกัน
มาตรา 279 บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์หลายรายแย้งกัน
มาตรา 280 บุริมสิทธิในลำดับเสมอกัน
มาตรา 281 ผลเกี่ยวกับบุริมสิทธิเหนือสังหาริมทรัพย์
มาตรา 282 ผลของการที่บุริมสิทธิแย้งกับจำนำ
มาตรา 283 ผลเกี่ยวกับการใช้บุริมสิทธิสามัญหรือลำดับในการชำระหนี้
มาตรา 284 บุริมสิทธิสามัญยกขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้สามัญ แม้เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
มาตรา 285 มูลรักษาอสังหาริมทรัพย์ที่บอกลงทะเบียนไว้
มาตรา 286 บุริมสิทธิในมูลจ้างทำของบนอสังหาริมทรัพย์
มาตรา 287 ผลของการจดทะเบียน
มาตรา 288 บุริมสิทธิในมูลซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
มาตรา 289 ให้นำบทบัญญัติจำนองมาใช้กับบุริมสิทธิ
หมวด 3 ลูกหนี้และเจ้าหนี้หลายคน
มาตรา 290 หนี้แบ่งชำระไม่ได้
มาตรา 291 ลูกหนี้ร่วม
มาตรา 292 ลูกหนี้ร่วมคนใดชำระหนี้ย่อมได้ประโยชน์แก่ลูกหนี้ร่วมคนอื่นด้วย
มาตรา 293 การปลดหนี้
มาตรา 294 เจ้าหนี้ผิดนัด
มาตรา 295 เหตุเฉพาะตัว
มาตรา 296 ความรับผิดระหว่างลูกหนี้ร่วมด้วยกันเอง
มาตรา 297 บทสันนิษฐานหนี้ตามสัญญา
มาตรา 298 เจ้าหนี้ร่วม
มาตรา 299 ผลการปฏิบัติของเจ้าหนี้ร่วม
มาตรา 300 สิทธิของเจ้าหนี้ร่วมในระหว่างกันเอง
มาตรา 301 หนี้อันจะแบ่งชำระมิได้ ลูกหนี้ต้องรับผิด
มาตรา 302 หนี้อันจะแบ่งชำระมิได้และมีเจ้าหนี้หลายคนซึ่งมิใช่เจ้าหนี้ร่วม