ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ใหม่ เล่ม 2
ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี-ใหม่-เล่ม-2
ข้อมูลสินค้า
ราคา
1,100.00 1,050.00 บาท
แบรนด์
สูตรไพศาล
ร้านค้า

เล่ม 2 ISBN 9789745209053
ใหม่ล่าสุด 2563 รับฟรี ebook แก้ไขล่าสุด
เล่ม 1 ประเภทบุคคล ได้แก่ ลักษณะที่ 1-16 และ
เล่ม 2 ประเภทการบริหาร ได้แก่ ลักษณะที่ 17-58

ผู้รวบรวมได้ปรับปรุงตรวจสอบและลงบันทึกข้อสังเกตกรณีมีระเบียบกฎหมายอื่นเปลี่ยนแปลง

 

โดยระเบียบ ตร. มีการแก้ไข ยกเลิก ปรับปรุงจำนวนมาก  จึงต้องชำระใหม่ทั้งชุด 

 

 

       ขนาดรูปเล่ม A4  ปกแข็ง 4 สี  เคลือบลามิเนต  เย็บกี่ 

 

พิมพ์ใหม่  ปรับปรุงใหม่

 

พิมพ์จำนวนจำกัด  สามารถสั่งซื้อได้แล้ววันนี้

สารบัญ

ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี

เล่ม  ๒  ประเภทการบริหาร

 

ลักษณะที่  ๑๗    การเคารพและกองเกียรติยศ    "รร.นรต." ๒๕๕๘

บทที่  ๑  บททั่วไป

บทที่  ๒  วิธีแสดงความเคารพ

บทที่  ๓  การเคารพเมื่ออยู่ตามลำพัง

บทที่  ๔  การเคารพในเรือที่ใช้ในราชการตำรวจ

บทที่  ๕  การเคารพเมื่ออยู่ในความควบคุม

บทที่  ๖  มารยาทในการเคารพ

บทที่  ๗  การยกเว้นในการเคารพ

บทที่  ๘  การบรรเลงเพลงเคารพ

บทที่  ๙  กองเกียรติยศ

บทที่ ๑๐  การเคารพของกองรักษาการณ์

บทที่ ๑๑  ระเบียบเกี่ยวกับธงชัย

 

  ลักษณะที่  ๑๘  การจ้างตำรวจรักษาการณ์   "บช.น."   (ยกเลิก) ๒๕๕๖

 

ลักษณะที่  ๑๙  การถึงแก่กรรมและการฌาปนกิจ   "สก."๒๕๕๕

 

ลักษณะที่  ๒๐  การแพทย์และการพยาบาล    "รพ.ตร."   ๒๕๕๖

บทที่  ๑  การรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

บทที่  ๒  การตรวจสุขภาพประจำปีข้าราชการตำรวจ

บทที่  ๓  ระเบียบของสถาบันนิติเวชวิทยา

บทที่  ๔  การรักษาพยาบาลข้าราชการตำรวจซึ่งได้รับอันตรายหรือป่วยเจ็บเพราะเหตุ

ปฏิบัติราชการในหน้าที่หรือถูกประทุษร้ายเพราะเหตุกระทำการตามหน้าที่

 

ลักษณะที่  ๒๑  การลาของข้าราชการตำรวจ  "สกพ."๒๕๕๕

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.๒๕๕๕ 

หมวด  ๑  บททั่วไป

หมวด  ๒  ประเภทการลา

ส่วนที่  ๑  การลาป่วย

ส่วนที่  ๒  การลาคลอดบุตร

ส่วนที่  ๓  การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร

ส่วนที่  ๔  การลากิจส่วนตัว

ส่วนที่  ๕  การลาพักผ่อน

ส่วนที่  ๖  การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์

ส่วนที่  ๗  การลารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล

ส่วนที่  ๘  การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัย หรือดูงาน

ส่วนที่  ๙  การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ

ส่วนที่ ๑๐  การลาติดตามคู่สมรส

ส่วนที่ ๑๑  การลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ

หมวด  ๓  การลาของข้าราชการการเมือง  

 

ลักษณะที่  ๒๒  การแต่งเครื่องแบบ   "กม."

 

บทที่ ๑๓ ลักษณะทั่วไป 

สีของเครื่องแบบ  แก้ล่าสุด ๒๕๒๗

การแต่งเครื่องแบบ  แก้ล่าสุด ๒๕๓๗

- คำสั่ง ตร. ๑๒๗๗/๒๕๒๓  ให้ยกเลิกผ้าผูกคอในโอกาสแต่งเครื่องแบบปกติเสื้อเชิ้ตคอพับกากี

การใช้อินทรธนู

การใช้รองเท้าและสนับแข้ง

การใช้ปลอกแขนทุกข์

โอกาสที่ใช้กระบี่และถุงมือ แก้ล่าสุด ๒๕๓๗

การแต่งเครื่องแบบของนักเรียนตำรวจ

การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์

โอกาสใช้หมวกต่างๆ  และสายรัดคาง  แก้ล่าสุด ๒๕๕๑

การถือหมวก 

การใช้เข็มขัด

การพกอาวุธปืน ดาบปลายปืน และตะบอง

 

บทที่ ๒๘    การใช้สายนกหวีด

การประดับเครื่องหมายหรือครุยประดับเกียรติ

การแต่งเครื่องแบบของตำรวจนอกราชการ

การแต่งเครื่องแบบของผู้เข้ารับการอบรมเป็นตำรวจชั้นสัญญาบัตร

เครื่องแบบนางพยาบาลตำรวจ

เครื่องแบบตำรวจผู้ทำหน้าที่เสิร์ฟอาหาร ๒๔๙๘

เครื่องแบบพิเศษ   "บ.ตร."

เครื่องหมายแสดงความสามารถการบินและหลักเกณฑ์การประดับของตำรวจที่ทำหน้าที่เป็นนักบิน   "บ.ตร."

การประดับเครื่องหมายซึ่งมิใช่ส่วนประกอบเครื่องแบบ                 แก้ล่าสุด  ๒๕๓๓

เครื่องหมายแสดงความสามารถในการทำการในอากาศและหลักเกณฑ์การประดับ

หลักเกณฑ์การประดับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติแสดงความสามารถของนักทำลายวัตถุระเบิด

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยเครื่องแบบลูกจ้างประจำ ๒๕๒๗

การมอบแหนบรูปกระเป๋า กระสุนคันชีพ เครื่องแบบเต็มยศ นักเรียนนายร้อยตำรวจ    ๒๕๔๒

การมอบเครื่องหมายเชิดชูเกียรติกองบัญชาการตำรวจนครบาล        แก้ล่าสุด  ๒๕๓๕

หลักเกณฑ์การประดับเข็มเชิดชูเกียรติตำรวจชุมชนสัมพันธ์ดีเด่นของ สตช. "กพป." ๒๕๕๐

 

คำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ที่ ๑๐๓/๒๕๕๙  การใช้เครื่องแบบสำหรับข้าราชการตำรวจหญิงในการปฏิบัติหน้าที่

เกี่ยวกับงานป้องกันปราบปรามและงานจราจร   ลง ๓ มี.ค. ๒๕๕๙

ที่ 10/2556    การติดป้ายชื่อกับเครื่องแบบตำรวจ   ลง 8 ม.ค. 2556

ที่ 518/2556  เครื่องเเบบสโมสรเเบบเสื้อนอกเปิดอกสำหรับข้าราชการตำรวจ

ชั้นสัญญาบัตรหญิง

ที่ 592/2556  เครื่องเเบบสำหรับข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่รักษา

ความปลอดภัยสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศ

เเละกองรักษาการณ์ของกองบังคับการตำรวจสันติบาล 3 

กองบัญชาการตำรวจสันติบาล   ลง 4 ต.ค. 2556

ที่ 593/2556  เครื่องเเบบสำหรับข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ในกองเกียรติยศ

ของกองบังคับการตำรวจสันติบาล 3 กองบัญชาการตำรวจสันติบาล 

ลง 4 ต.ค. 2556

ที่ 614/2556  การกำหนดให้ใช้เสื้อกั๊กเเบบสวมทับสำหรับข้าราชการตำรวจ

ที่ทำหน้าที่ในสถานที่เกิดเหตุ  ลง 17 ต.ค. 2556

ที่ 750/2556 เเก้ไขเครื่องเเบบข้าราชการตำรวจทำหน้าที่สายตรวจเเละสืบสวน

ของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง   ลง 18 ธ.ค. 2556

 

- ที่ 757/2556  การใช้เครื่องหมายจำพวกเเละเครื่องหมายสังกัดประกอบเครื่องเเบบ

ลง 20 ธ.ค. 2556

ที่ 560/2555  การใช้หมวกทรงอ่อนสักหลาดสีดำและเข็มขัดด้ายถักสีดำเป็นส่วนของเครื่องแบบเสื้อเชิ้ตคอพับกากี    ลง 5 ต.ค. 2555

- กฎกระทรวง หลักเกณฑ์การแจ้งให้หัวหน้าสถานีตำรวจแห่งท้องที่ทราบ 

ในกรณีที่จะแต่งเครื่องแบบตำรวจ หรือแต่งกายโดยใช้เครื่องแต่งกายคล้าย

เครื่องแบบตำรวจเพื่อการแสดง                        ๒๕๕๓

- มอก. กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ผ้าสีกากีเครื่องแบบข้าราชการตำรวจ

- ฉบับที่ ๔๓๔๓  (พ.ศ.๒๕๕๔)  มอก. 2549-2557

- ฉบับที่ ๔๖๙๓  (พ.ศ.๒๕๕๘)  มอก. 2686-2558  ผ้าประเภทสำนักงาน

- กระทู้ถามที่ ๓๐๖/ร.  การแต่งเครื่องแบบของข้าราชการตำรวจ

 

ลักษณะที่  ๒๓  การปฏิบัติราชการ   "สลก.ตร."๒๕๕๗

บทที่  ๑  กำหนดวัน เวลาทำงาน วันหยุดราชการ และการลงชื่อปฏิบัติราชการ

บทที่  ๒  การทำบัญชีรายวันปฏิบัติราชการ

บทที่  ๓  การขอพระราชทานเชิญเสด็จพระราชดำเนิน เชิญเสด็จ และการรับเสด็จในการเสด็จพระราชดำเนิน หรือเสด็จไปในงานพระราชพิธี งานรัฐพิธี งานรับเสด็จพระราชอาคันตุกะ หรืองานต้อนรับราชอาคันตุกะ ตลอดจนงานพิธีต่างๆ

บทที่  ๔

     "สกพ."  หลักเกณฑ์และวิธีการให้ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดมีอำนาจและหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติราชการของข้าราชการตำรวจที่สังกัดกองบัญชาการอื่นและปฏิบัติราชการประจำอยู่ในจังหวัด

 

- คำสั่งหัวหน้า  คสช.  ที่ ๕/๒๕๕๙

     เรื่อง  มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ

 

ลักษณะที่  ๒๔  บัตร   "ทพ."๒๕๕๕

บทที่  ๑  บัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ

บทที่  ๒ บัตรประจำตัวผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิและทายาท

 

ลักษณะที่  ๒๕  หน้าที่เวรยามหมู่ตรวจท้องที่และกองรักษาการณ์ "บชน."

บทที่  ๑  การจัดเวรยามรักษาหน้าที่ 

บทที่  ๒  การวางยาม 

บทที่  ๓  ความประพฤติและหน้าที่ของตำรวจยามโดยทั่ว ๆ ไป 

บทที่  ๔  การตรวจยาม 

พ.ศ.

 

บทที่  ๕  หน้าที่ยามประจำสถานีตำรวจ 

บทที่  ๖  ยามประจำตู้ยาม 

บทที่  ๗  ยามคลังเงิน 

บทที่  ๘  หน้าที่ยามอารักขาสถานีส่งข่าวสารต่าง ๆ 

บทที่  ๙  หน้าที่ยามอื่น ๆ และยามหน้าที่พิเศษ 

บทที่ ๑๐  หมู่ตรวจท้องที่ 

บทที่ ๑๑  กองรักษาการณ์ทั่วไป 

บทที่ ๑๒  ระเบียบของกองรักษาการณ์ทั่วไปของตำรวจนครบาล 

บทที่ ๑๓  กองรักษาการณ์พระราชฐานจิตรลดารโหฐาน   "สง.นรป."   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๑๔  กองรักษาการณ์วังสระปทุม   "สง.นรป."   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๑๕  กองรักษาการณ์สำนักงานตำรวจแห่งชาติ   "ส." ๒๕๕๗

บทที่ ๑๖  ระเบียบการรักษาการณ์วังปารุสกวัน   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๑๗  หน้าที่นายสิบตำรวจเวร 

บทที่ ๑๘  หน้าที่นายร้อยตำรวจเวร 

บทที่ ๑๙  การจัดเวรยามประจำสถานที่ราชการ 

บทที่ ๒๐  การตรวจท้องที่ชายแดน 

บทที่ ๒๑  เวรสอบสวนคดี 

บทที่ ๒๒  การรักษาความปลอดภัยสำหรับองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พระบรมวงศานุวงศ์ ผู้แทนพระองค์ และพระราชอาคันตุกะ "สง.นรป." ๒๕๕๒

บทที่ ๒๓  การถ่ายภาพและตรวจสิ่งของถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบรมราชินีนาถ พระรัชทายาท ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พระบรมวงศานุวงศ์ฯ  "บช.ส." ๒๕๕๕

บทที่ ๒๔  ระเบียบกรมราชองครักษ์ ว่าด้วยการจัดขบวนรถยนต์พระที่นั่งและข่ายวิทยุ

ถวายความปลอดภัยประจำขบวนฯ  ๒๕๑๐  "สง.นรป."  (ยกเลิก)  

บทที่ ๒๕  ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยสำหรับองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ฯ  "สง.นรป."   (ยกเลิก) ๒๕๒๑  

บทที่ ๒๖  การจัดเวรเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทและรับหรือส่งเสด็จพระราชดำเนิน ๒๕๕๗

บทที่ ๒๗ กองรักษาการณ์วังศุโขทัย   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

 

ลักษณะที่  ๒๖  การตรวจท้องที่ในเขตตำรวจนครบาล และระเบียบการปฏิบัติงานของรถวิทยุตำรวจ  "บช.น."

บทที่  ๑  การตรวจตราป้องกันท้องที่กรุงเทพมหานคร 

บทที่  ๒  ระเบียบการปฏิบัติงานของรถวิทยุ 

บทที่  ๓  เครื่องสัญญาณแจ้งอันตราย

- ระเบียบกรมตำรวจ การใช้เครื่องส่งสัญญาณแจ้งอันตราย แนบท้ายสัญญาเช่า

ลักษณะที่  ๒๗  อาณัติสัญญาณ      "บช.ก.(รน.)"๒๕๕๕

ลักษณะที่  ๒๘  การรายงานประจำปี     "กม."๒๕๕๖

ลักษณะที่  ๒๙   ความลับ      "ส."

บทที่  ๑  ข้อราชการอันพึงสงวนเป็นความลับ

บทที่  ๒  การรักษาความลับในราชการ

บทที่  ๓  ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ  พ.ศ.๒๕๕๒  (แก้ไขแล้ว)      ๒๕๕๔

บทที่  ๔  การรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ เกี่ยวกับการจ้างเอกชนทำการสำรวจและทำแผนที่  ๒๕๔๔

บทที่  ๕  ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติเกี่ยวกับการสื่อสาร พ.ศ.๒๕๒๕    แก้  ๒๕๕๒

 

  ลักษณะที่  ๓๐   การปฏิบัติเกี่ยวกับการให้ข่าว  การแถลงข่าว 

   การให้สัมภาษณ์  การเผยแพร่ภาพต่อสื่อมวลชน  

   และการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์    "สท."๒๕๕๖

 

ลักษณะที่  ๓๑  การรักษาความสะอาดสถานที่ราชการ

  และการเข้าพักอาศัยในอาคารบ้านพัก

                    สำนักงานตำรวจแห่งชาติ   "สก."    แก้  ๒๕๕๕

 

ลักษณะที่  ๓๒  การพิมพ์ลายนิ้วมือ    "ทว."  แก้ ๒๕๕๔

บทที่  ๑  การปฏิบัติเกี่ยวกับการพิมพ์ลายนิ้วมือ ผู้ต้องหา จำเลย  ผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักขัง  ผู้ถูกกักกัน  ผู้รับการอบรม และศพ

บทที่  ๒  การพิมพ์ลายนิ้วมือผู้ขออนุญาตต่างๆ

บทที่  ๓  การพิมพ์ลายนิ้วมือผู้ขอสมัครเข้ารับราชการ หรือเข้าทำงานในหน่วยงานต่างๆ

บทที่  ๔  การคัดแยกและทำลายแผ่นพิมพ์ลายนิ้วมือ  และรายการประวัติ  หรือบัญชีประวัติ

 

ลักษณะที่  ๓๓  น้ำมันเชื้อเพลิง   "บช.น."๒๕๕๖

 

ลักษณะที่  ๓๔  การตรวจคนเข้าเมือง   "สตม."๒๕๕๒

บทที่  ๑  ความเบื้องต้น

บทที่  ๒  หนังสือเดินทาง

บทที่  ๓  การตรวจลงตราหนังสือเดินทาง  (VISA)    แก้ล่าสุด  ๒๕๔๓

บทที่  ๔  การเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรของคนต่างด้าว 

บทที่  ๕  การประกัน

บทที่  ๖  การตรวจบุคคลและพาหนะทั่วไป       แก้  ๒๕๔๘

บทที่  ๗  หน้าที่แพทย์ตรวจคนเข้าเมือง 

บทที่  ๘  คนอยู่ชั่วคราว          แก้ล่าสุด  ๒๕๕๒

บทที่  ๙  นักท่องเที่ยว 

บทที่ ๑๐  คนเดินทางผ่านราชอาณาจักร 

บทที่ ๑๑  ผู้ควบคุมพาหนะและคนประจำพาหนะ 

บทที่ ๑๒  คนต่างด้าวที่ได้รับการยกเว้น 

บทที่ ๑๓  การปฏิบัติแก่คนต่างด้าวที่ไม่มีสนธิสัญญากับประเทศไทยหรือคนต่างด้าวบางจำพวก 

บทที่ ๑๔  การออกใบสำคัญและใบแทนใบสำคัญ 

บทที่ ๑๕  การสลักหลังใบสำคัญ 

บทที่ ๑๖  การกักตัวคนต่างด้าว 

บทที่ ๑๗  การสอบสวน       แก้  ๒๕๓๙

บทที่ ๑๘  คนต่างด้าวต้องห้ามเข้าเมือง 

บทที่ ๑๙  ระเบียบปฏิบัติแก่คนต่างด้าวที่หลบหนีเข้าเมือง 

บทที่ ๒๐  คนต่างด้าวอพยพเข้ามาในประเทศไทย 

บทที่ ๒๑  การปฏิบัติเกี่ยวกับการค้าหญิงและเด็กหญิง 

บทที่ ๒๒  การปฏิบัติในการช่วยเหลือสืบสวนจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมายคนเข้าเมืองของ ตชด.

บทที่ ๒๓  พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง      แก้  ๒๕๓๗

บทที่ ๒๔  ช่องทางและด่านตรวจคนเข้าเมือง       แก้  ๒๕๓๗

บทที่ ๒๕  การมอบอำนาจ 

บทที่ ๒๖  ระเบียบการเงินและเงินล่วงเวลา     แก้  ๒๕๓๘

บทที่ ๒๗  การเก็บเอกสาร 

บทที่ ๒๘  การสถิติคนเดินทางเข้าและออก 

บทที่ ๒๙  การขอพิสูจน์สัญชาติ   (ยกเลิก)    โดย  ๒๕๕๗

 

ลักษณะที่  ๓๕   รถยนต์   "บช.ก."   (ยกเลิก)    โดย  ๒๕๔๖

 

ลักษณะที่  ๓๖   ล้อเลื่อน   "บช.ก."   (ยกเลิก)  โดย  ๒๕๔๖

 

  ลักษณะที่  ๓๗   โรงรับจำนำและค้าของเก่า  "บช.ก."   (ยกเลิก)   โดย  ๒๕๔๖

 

  ลักษณะที่  ๓๘  ภาพยนตร์และวีดิทัศน์     "บช.ก."   (ยกเลิก)    โดย  ๒๕๔๖

 

ลักษณะที่  ๓๙  โรงแรม     "บช.ก."   (ยกเลิก)    โดย  ๒๕๔๖

 

ลักษณะที่  ๔๐  ระเบียบปฏิบัติการตาม พ.ร.บ.ป้องกันและปรามการค้า

                    ประเวณี พ.ศ.๒๕๐๓ "บก.ปตส."  (ยกเลิก)           โดย ๒๕๔๖

 

  ลักษณะที่  ๔๑   การพนัน  "บช.ก."   (ยกเลิก)   โดย  ๒๕๔๖

 

  ลักษณะที่  ๔๒   การเรี่ยไร  "บช.ก."   (ยกเลิก)    โดย  ๒๕๔๖

 

ลักษณะที่  ๔๓   ระเบียบเกี่ยวกับหญิง  เด็กหญิง  และวัตถุลามก

                     อนาจาร   "บก.ปดส."  (ยกเลิก)   โดย ๒๕๔๖

 

  ลักษณะที่  ๔๔   การส่งวัตถุของกลางในคดีอาญาและวัตถุอื่น ๆ

                     บางอย่างไปเก็บเป็นพิพิธภัณฑ์   "สท.   แก้  ๒๕๓๖

 

ลักษณะที่  ๔๕  การเตรียมพร้อม   "บก.ป."  แก้  ๒๕๓๖

บทที่  ๑  การใช้กำลังตำรวจ  การเคลื่อนกำลังตำรวจ  และการเตรียมพร้อม 

บทที่  ๒  การปฏิบัติของหน่วยต่าง ๆ  เมื่อมีคำสั่งให้เตรียมพร้อม

 

ลักษณะที่  ๔๖  อากรแสตมป์  "คพ."   (ยกเลิก)       โดยคำสั่ง ตร. ๒๙๕/๒๕๕๗

 

ลักษณะที่  ๔๗  ระเบียบเกี่ยวกับอากาศยาน  "บ.ตร.  ๒๕๕๖

บทที่  ๑  การใช้  การโดยสารและการรักษาความปลอดภัยอากาศยาน

ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

บทที่  ๒  นักบินของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

บทที่  ๓    การปฏิบัติเมื่ออากาศยานเกิดอุบัติเหตุ

 

ลักษณะที่  ๔๘  ระเบียบเกี่ยวกับสัญชาติ    "ส."

บทที่  ๑  ข้อความเบื้องต้น 

บทที่  ๒  พนักงานเจ้าหน้าที่ 

บทที่  ๓  การได้สัญชาติ

 

ลักษณะที่  ๔๙  เอกสารหนังสือพิมพ์  (ยกเลิก)       โดยคำสั่ง ตร. ๒๖๗/๒๕๕๖

 

ลักษณะที่  ๕๐  สมาคม   (ยกเลิก)      โดยคำสั่ง ตร. ๒๖๗/๒๕๕๖

 

ลักษณะที่  ๕๑  การจัดทำตำราของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ "กม." ๒๕๕๕

 

ลักษณะที่  ๕๒  งานพิธี   "สลก.ตร."๒๕๕๖

บทที่  ๑  แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับงานพิธี

บทที่  ๒  การเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท

บทที่  ๓  การกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณตน   "รร.นรต."

 

ลักษณะที่  ๕๓  สำเนาทะเบียนสำมะโนครัว (ยกเลิก)  โดยคำสั่ง ตร. ๑๘๕/๕๗

 

ลักษณะที่  ๕๔  งานสารบรรณ   "สลก.ตร."๒๕๕๖

บทที่  ๑  งานสารบรรณตำรวจ

บทที่  ๒  การใช้บันทึกข้อความ

บทที่  ๓  การจัดทำหนังสือ

บทที่  ๔  การเสนองาน

บทที่  ๕  การรับและส่งหนังสือ

บทที่  ๖  การคัดสำเนา การลงชื่อตรวจ และการรับผิดชอบในหนังสือราชการ

บทที่  ๗  การกำหนดเลขที่ประจำหน่วยงานภายในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

บทที่  ๘  การใช้คำย่อในราชการตำรวจ      "กม."      แก้ล่าสุด  ๒๕๕๘

บทที่  ๙  การบัญญัติศัพท์ภาษาอังกฤษชื่อหน่วยงาน ยศและตำแหน่งในสำนักงาน

ตำรวจแห่งชาติ       "ตท."            แก้ล่าสุด  ๒๕๕๙

บทที่ ๑๐  การออกประกาศ ข้อบังคับ หรือระเบียบของเจ้าพนักงานจราจร   "บช.น."

บทที่ ๑๑  ไปรษณีย์สนามของตำรวจชายแดน    "บช.ตชด."

 

ลักษณะที่  ๕๕  การทะเบียนคนต่างด้าว   "สตม."๒๕๕๖

บทที่  ๑  บททั่วไป

บทที่  ๒  การออกใบสำคัญประจำตัว  การออกใบสำคัญประจำตัวแทนฉบับเดิมและการต่ออายุใบสำคัญประจำตัว

บทที่  ๓    การแจ้งย้ายภูมิลำเนาและการเดินทางออกนอกเขตจังหวัด

บทที่  ๔  การถูกเนรเทศและการออกนอกราชอาณาจักรโดยไม่กลับเข้ามาอีก

บทที่  ๕  การปฏิบัติเมื่อคนต่างด้าวตาย

บทที่  ๖  การเปลี่ยนแปลงสัญชาติ  การเปลี่ยนอาชีพ  ชื่อตัว ชื่อสกุล  หรือรายการต่างๆ  ในใบสำคัญประจำตัว

บทที่  ๗  การยกเว้นไม่ต้องรับใบสำคัญประจำตัว ต่ออายุใบสำคัญประจำตัวและค่าธรรมเนียม

บทที่  ๘  การรับเงินค่าธรรมเนียม

บทที่  ๙  การปฏิบัติเกี่ยวกับใบเสร็จรับเงิน

บทที่ ๑๐  การทำบัญชีคุมคนต่างด้าว

บทที่ ๑๑  การรายงานสถิติคนต่างด้าว

บทที่ ๑๒  การเก็บเอกสารทะเบียนคนต่างด้าว

บทที่ ๑๓  การปฏิบัติเกี่ยวกับคนต่างด้าวกระทำผิดกฎหมาย

 

ลักษณะที่  ๕๖  การตรวจราชการ    "จต."๒๕๕๗

- อำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจราชการกระทรวง

 

ลักษณะที่  ๕๗  ลักษณะเบ็ดเตล็ด 

บทที่  ๑  ระเบียบการนายตำรวจราชสำนัก   "สง.นรป."แก้ล่าสุด ๒๕๔๗

บทที่  ๒  มารยาททางการเมืองของข้าราชการพลเรือน  "กม."  (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่  ๓    การนำของของทางราชการผ่านศุลกากร   "บช.น."   (ยกเลิก)  ๒๕๕๗

บทที่  ๔  การจัดทำป้ายชื่อหน่วยงานของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  "สกบ." ๒๕๕๖

บทที่  ๕  การขอความร่วมมืออุทิศเงินรายได้เพื่อสาธารณกุศลวันตำรวจ "บชน." (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่  ๖  การสงเคราะห์ครอบครัวข้าราชการตำรวจ  "สก."   (ยกเลิก)  ๒๕๕๗

บทที่  ๗  ว่าด้วยกองทุนสวัสดิการสโมสรตำรวจ  "สก."    (ยกเลิก) ๒๕๕๓

บทที่  ๘  การใช้เครื่องจับเท็จ  "สพฐ.ตร."   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่  ๙  การรายงานตนเมื่อเข้าไปในกรุงเทพมหานคร  "บช.น."   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๑๐  การรายงานตนเมื่อผู้บังคับบัญชาที่สูงกว่าชั้นผู้บังคับการสั่งให้ปฏิบัติราชการลับหรือพิเศษ   "บช.น."     (ยกเลิก) ๒๕๕๗

 

บทที่ ๑๑  การรายงานตนเมื่อเป็นสมาชิกหรือกรรมการในสโมสรและสมาคม  (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๑๒  การรายงานเมื่อพบปะสนทนากับชาวต่างประเทศ  "บช.น."     (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๑๓  การรายงานตนเมื่อถูกอ้างเป็นพยาน  "บช.น."      แก้ไขล่าสุด  ๒๕๓๐

บทที่ ๑๔  การจัดสร้างภาพยนตร์   "สท."   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๑๕  การควบคุมการโฆษณาโดยใช้เครื่องขยายเสียง  "บช.น."     (ยกเลิก)   ๒๕๕๗

บทที่ ๑๖  การควบคุมการโฆษณาโดยยานพาหนะเคลื่อนที่  "บช.น."    (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๑๗  การกำจัดเหตุน่ารำคาญ   "บช.น."  (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๑๘  การป้องกันทรัพย์สินของสาธารณสมบัติ  "บช.น."   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๑๙  การชักธงชาติ  "บช.น."   (ยกเลิก)  ๒๕๕๗

บทที่ ๒๐  การเพิ่มชื่อในทะเบียนสำมะโนครัว   "บช.น."  (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๒๑  การใช้เครื่องหมายรูปพระแสงดาบเขนและโล่ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

และเครื่องหมายราชการของหน่วยต่างๆ ในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ "กม." ๒๕๕๕

บทที่ ๒๒  การจัดทำและรวบรวมแบบธรรมเนียมต่างๆ ในทางปฏิบัติราชการ     (ยกเลิก)  ๒๕๕๗

บทที่ ๒๓  การพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์และบัตรสนเท่ห์  "จต."   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๒๔  คำนำนามสตรีผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ  "สกพ."  (ยกเลิก)  ๒๕๕๗

บทที่ ๒๕  การติดธงและตราบนรถยนต์ของสำนักงานสหประชาชาติ

และทบวงการชำนัญพิเศษใน กทม.  "บช.น."   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๒๖  การให้ความคุ้มครองต่อชาวต่างประเทศ   "บช.ส."  (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๒๗  การถือปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยการข้ามแดน  "ตท."   (ยกเลิก)  ๒๕๕๗

บทที่ ๒๘  การทำคำแถลงชี้แจงเกี่ยวกับร่างกฎหมาย   "กม."    (ยกเลิก)  ๒๕๕๗

บทที่ ๒๙  การป้องกันและปราบปรามการจับสัตว์น้ำโดยใช้ยาเบื่อเมาและวัตถุระเบิด   (ยกเลิก)

บทที่ ๓๐  การเสนอบัตรแสดงผลการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน  "บช.ก."  (ยกเลิก)  ๒๕๕๗

บทที่ ๓๑  การส่งเสริมข้าราชการตำรวจที่ดีเยี่ยมในการปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย  (ยกเลิก)

บทที่ ๓๒  การตรวจถุงเมล์และสินค้าติดตัวผู้โดยสารเครื่องบิน  "บช.ก."    (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๓๓  การใช้กระบี่สำหรับข้าราชการตำรวจ  "รร.นรต." ๒๕๕๗

บทที่ ๓๔  ข้อบังคับโรงพิมพ์ตำรวจ    "กม."      แก้ไขล่าสุด  ๒๕๕๒

บทที่ ๓๕  การนำกล้องถ่ายรูปส่วนตัวมาใช้ราชการ  "สท."    (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๓๖  การจัดทำโครงการ  "กม."    (ยกเลิก)  ๒๕๕๗

บทที่ ๓๗  คำร้องของประชาชนและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  "จต."     (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๓๘  การส่งเสริมเกียรติคุณและสนับสนุนผู้ทำหน้าที่ครูในโรงเรียนตำรวจต่าง ๆ 

ในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ   "บช.ศ."     (ยกเลิก) ๒๕๕๗

 

บทที่ ๓๙  ระเบียบเลื่อนเงินเดือนข้าราชการถึงแก่ความตายเนื่องจากการปฏิบัติราชการในหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๐๖  "ทพ."    (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๔๐  การใช้บริการห้องสมุดกลางสำนักงานตำรวจแห่งชาติ    "กม." ๒๕๕๕

บทที่ ๔๑  การมอบประกาศเกียรติคุณในวาระข้าราชการตำรวจเกษียณอายุ    "ทพ."       ๒๕๕๖

บทที่ ๔๒  ข้อตกลงระหว่างกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงมหาดไทย "บช.ตชด." (ยกเลิก)  ๒๕๕๗

บทที่ ๔๓  โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน "ตชด." ๒๕๕๗

บทที่ ๔๔  การจัดสวัสดิการร้านค้าและร้านอาหาร   "สก."  แก้ไขล่าสุด  ๒๕๓๙

บทที่ ๔๕  การเชิดชูเกียรติข้าราชการตำรวจที่มีมนุษย์สัมพันธ์ดีเด่น    "สท."  (ยกเลิก)      ๒๕๕๓

บทที่ ๔๖  การมอบโล่หรือประกาศนียบัตรเกียรติคุณเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ทำหน้าที่จราจรชั้นประทวน  "บช.ก."    (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๔๗  สวัสดิการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  พ.ศ. ๒๕๓๖  "สก."    (ยกเลิก)   ๒๕๕๓

บทที่ ๔๘  การเงินและการบัญชีของเงินกองทุนสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๓๖  "กง."  (ยกเลิก) ๒๕๕๓

บทที่ ๔๙  กองทุนสวัสดิการสถานพักฟื้นและตากอากาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  "สก." (ยกเลิก)

บทที่ ๕๐  ว่าด้วยกองทุนสวัสดิการสนามกีฬาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ   "สก."   (ยกเลิก)  ๒๕๕๗

บทที่ ๕๑  ว่าด้วยกองทุนสวัสดิการห้องประชุมกองสวัสดิการ  "สก."   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๕๒  ว่าด้วยกองทุนสวัสดิการวงดุริยางค์ตำรวจ  "สก."   (ยกเลิก) ๒๕๕๗

บทที่ ๕๓  ว่าด้วยกองทุนพัฒนาการสอบ  พ.ศ. ๒๕๔๓   "กส."    แก้ไข  ๒๕๕๗

บทที่ ๕๔ หลักเกณฑ์การให้ยศ  หรือรางวัลสุนัขตำรวจ   "สปพ.บช.น." ๒๕๕๕

 

ลักษณะที่  ๕๘  ระบบยิงปืนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ    ๒๕๕๘

บทที่  ๑  บททั่วไป     "ภ.๔"

บทที่  ๒  ข้อบังคับสำหรับผู้อยู่ในสนามยิงปืน    "ภ.๔"

บทที่  ๓    การฝึกยิงเป้าด้วยกระสุนจริง   "ภ.๔"

บทที่  ๔  หลักสูตรการยิงปืนพกแบบ เอ็น.อาร์.เอ National Rifle Association (N.R.A.)  

ประเภทปืนพกลูกโม่และปืนพกกึ่งอัตโนมัติ  "ภ.๔"

บทที่  ๕  หลักสูตรการยิงปืนเล็กยาวขั้นพื้นฐาน  "ภ.๔"

บทที่  ๖  หลักสูตรการยิงปืนพกต่อสู้แบบ พี.พี.ซี. Practical Pistols Course  (P.P.C.) "ภ.๔"

บทที่  ๗  หลักสูตรการยิงปืนพกต่อสู้แบบสัญชาตญาณ  (ไอ.พี.ที.) Instinctive Pistols 

Training  (I.P.T.) "ภ.๔" ๒๕๕๙

บทที่  ๘  หลักสูตรการฝึกยิงปืนลูกซอง     "ภ.๔"  

บทที่  ๙  หลักสูตรการฝึกยิงปืนพกกึ่งอัตโนมัติขั้นพื้นฐาน    "ภ.๔" ๒๕๕๙

บทที่ ๑๐  หลักสูตรการฝึกยิงปืนเล็กยาว  (Rifle)  "ภ.๔"

บทที่ ๑๑  หลักสูตรการฝึกยิงปืนพกขั้นพื้นฐาน Basic Shooting Course  (B.S.C.)

ของตำรวจภูธรภาค ๔     "ภ.๔"

บทที่ ๑๒  หลักสูตรการฝึกยิงปืนพกต่อสู้ของตำรวจภูธรภาค ๔   "ภ.๔"

Combat Course of Provincial Police Region ๔  

บทที่ ๑๓  หลักสูตรการฝึกยิงปืนพกในระบบต่อสู้และป้องกันตัวภายใต้สภาวะความกดดัน

ของกองบังคับการปราบปราม   Pressured Circumstances Handgun 

Defense (P.H.D.) of Crime Suppression Division  "บก.ป."

บทที่ ๑๔  หลักสูตรการยิงปืนพกของโรงเรียนนายร้อยตำรวจ  National Rifle Association 

of Royal Police Cadet Academy  "รร.นรต."

บทที่ ๑๕  หลักสูตรการยิงปืนพกต่อสู้  (ซี.พี.เอส.ซี)  Controlled Pair Shooting Course (C.P.S.C.) ของโรงเรียนนายร้อยตำรวจ    "รร.นรต."

บทที่ ๑๖  หลักสูตรการยิงปืนเล็กยาว (Rifle) ของโรงเรียนนายร้อยตำรวจ    "รร.นรต."

บทที่ ๑๗  หลักสูตรการยิงปืนพกลูกโม่ทางยุทธวิธี (ที.อาร์.ซี.) Tactical Revolver Course (T.R.C.) ของโรงเรียนนายร้อยตำรวจ    "รร.นรต."

บทที่ ๑๘  หลักสูตรการยิงปืนพกกึ่งอัตโนมัติทางยุทธวิธี (ที.พี.ซี.) Tactical Pistol Course (T.P.C.) ของโรงเรียนนายร้อยตำรวจ    "รร.นรต."

 

ดัชนีค้นหา

คำที่เกี่ยวข้อง
ประมวลระเบียบการตำรวจกฎหมายเกี่ยวกับคดีเด็กกฎหมายเกี่ยวกับคดีเด็ก เยาวชนและคดีครอบครัวแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม 2คดีปกครองเกี่ยวกับการกระทำละเมิดประมวลรวมเล่มประมวลอาญาเล่มเล็กร้านลึกลับกับขนมวิเศษ เล่ม 2เกี่ยวกับแมวเกี่ยวกับรถยนต์

สินค้าใกล้เคียง