ผู้แต่ง คริสโตเฟอร์ อี. ฟอร์ธ
ผู้เขียน/แปล กิตติศักดิ์ โถวสมบัติ
ปีที่พิมพ์ 2565
จำนวนหน้า: 488 หน้า
ขนาดหนังสือ: 15 x 23 ซม.
ราคา 498 บาท
อ้วน โง่ ขี้เกียจ อ่อนแอ อัปลักษณ์ ตัวประหลาด เหม็น ป่าเถื่อน ถูกเปรียบเหมือนสัตว์ นุ่มนิ่ม ปวกเปียก ไร้สมรรถภาพทางเพศ สารพัดภาพความคิดที่มากับคำว่า ‘อ้วน’ และความรู้สึกอีกมากมายที่ผูกไว้กับ ‘ไขมัน’ น่ารังเกียจ ขยะแขยง สกปรก เหนียวเหนอะ มันลื่น
‘หมูตัวเมียที่เต็มไปด้วยไขมันที่กำลังเดินไปเดินมา ... ท่อใส่ของในครัวที่มีชีวิต’
Bartholomew Fair, เบ็น จอห์นสัน (1614)
หาก ‘อ้วน’ เป็นคำดูถูกที่รุนแรง หยาบคาย และเป็นที่ไม่ต้องการของใครหลายๆ คนในปัจจุบันแล้ว ก็เทียบไม่ได้เลยกับสิ่งที่เกิดกับคำนี้ในอดีตที่ทั้งดูถูก ประณาม และสามารถทำลายภาพลักษณ์ต่อคนทุกชนชั้น ในขณะเดียวกัน ‘ไขมัน’ ก็ยังจำเป็นต่อร่างกาย เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ เป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ ความมีชีวิตชีวา เป็นภาพแทนของพละกำลังและอำนาจ เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของชีวิต แล้วเราจะทั้งรักทั้งเกลียดคำว่า อ้วน!