ELASTIC | วิชายืดหยุ่น
elastic-วิชายืดหยุ่น
ข้อมูลสินค้า
ราคา
475.00 บาท
แบรนด์
No Brand
ร้านค้า

ELASTIC | วิชายืดหยุ่น

ISBN:9786167982502

ผู้แต่ง :เลเนิร์ด มโลดินอฟ

ผู้แปล :กัญญ์ชลา นาวานุเคราะห์ และ วารีรัตน์ อันวีระวัฒนา

สำนักพิมพ์ :openbooks

ปีที่พิมพ์ :พิมพ์ครั้งที่ 1 พฤศจิกายน 2563

จำนวนหน้า :448

เลเนิร์ด มโลดินอฟ (Leonard Mlodinow) จะนำเราเข้าสู่การเดินทางอันน่าตื่นตาตื่นใจ เพื่อศึกษาหนึ่งในคุณลักษณะพิเศษที่ทำให้เผ่าพันธุ์มนุษย์อยู่รอดและวิวัฒนาการมายาวนานจนถึงปัจจุบัน

คุณลักษณะพิเศษที่ว่านั้น มโลดินอฟเรียกมันว่า วิชายืดหยุ่น’ หรือ Elastic Thinking

ทำอย่างไรให้สมองของเราโอบรับความเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมทำอย่างไรให้สมองเรียนรู้ที่จะสร้างสรรค์แนวคิดใหม่ๆ และเราจะบำรุงเลี้ยงกระบวนการสร้างสรรค์นั้นได้อย่างไรเพราะเหตุใดความแตกต่าง หรือกระทั่งความขัดแย้ง จึงมีประโยชน์ต่อกระบวนการคิดของเรา

เมอลอดิโนฟนำเสนอเรื่องราวและความรู้อย่างหลักแหลมและเปี่ยมอารมณ์ขัน เพื่อมอบเครื่องมือสำคัญให้กับผู้อ่าน ในการฝึกฝน ‘วิชายืดหยุ่น’ ศาสตร์สำคัญเพื่อเผชิญหน้ากับความเปลี่ยนแปลง ที่ทวีความรุนแรงและรวดเร็วยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ในยุคปัจจุบัน

บัดนี้ เวลาและสถานการณ์เช่นนั้น ได้เดินทางมาถึงเบื้องหน้าของเราแล้ว นี่จึงเป็นหนังสืออีกหนึ่งเล่มที่เราเชื่อว่า จะเป็นประโยชน์ในการอ่านเพื่อผ่านวิกฤติใหญ่ของสังคมไทย

.

“มโลดินอฟ ทำให้วิทยาศาสตร์เข้าถึงได้ง่ายและสนุกสนานเสมอ”— Stephen Hawking"จิตมนุษย์รับมือกับความเปลี่ยนแปลงอย่างไรหนังสือเล่มนี้อธิบายหนึ่งในหัวข้อสำคัญที่สุดที่มนุษย์ควรรู้อย่างถูกที่ถูกเวลาและน่าสนใจยิ่ง”— Charles Duhigg (ผู้เขียน The Power of Habit)

–––––––––––––––––––––––––ELASTIC CONTENTS–––––––––––––––––––––––––

FROM THE PUBLISHERคำนำสำนักพิมพ์……12

INTRODUCTION: บทนำ– ต้องการเปลี่ยนแปลง– เอาชนะพยาธิตัวกลม– จากนี้ไป

PART I: CONFRONTING CHANGEบทที่ 1 THE JOY OF CHANGE | ยินดีที่ได้เปลี่ยน– อันตรายและโอกาส 44– ความเชื่อเรื่องความกลัวการเปลี่ยนแปลง 50– ความต้องการออกสำรวจของเรา 55– งานวิจัยและพัฒนาส่วนบุคคลและระดับการชอบลองของใหม่ 60

PART II: CONFRONTING CHANGEบทที่ 2 WHAT IS THOUGHT | ความคิดคืออะไร– แอบดูในกะโหลก– อะไรมีคุณสมบัติเข้าข่ายความคิดบ้าง– มีสติรู้ตัว– กฎแห่งความคิด– สมองที่ยืดหยุ่นและไม่ได้คิดแบบอัลกอริทึม

บทที่ 3 WHY WE THINK | เราคิดทำไม– ปรารถนาและหลงใหล– เมื่อความคิดไม่ได้รับรางวัล– ทางเลือกท่วมท้น– ความรู้สึกดีเกิดขึ้นได้อย่างไร– รางวัลจากศิลปะ– อาการสมาธิสั้นและความคิดยืดหยุ่นที่เหลือใช้– ความสุขเมื่อคิดออก

บทที่ 4 THE WORLD INSIDE YOUR BRAIN | โลกในสมองของคุณ– สมองสร้างภาพแทนโลกอย่างไร– สมองสร้างความหมายอย่างไร– ความฉลาดแบบล่างขึ้นบนของมด– ลำดับชั้นในสมองของเรา– การผจญภัยทางปัญญา

PART III: WHERE NEW IDEAS COME FROMบทที่ 5 THE POWER OF YOUR POINT OF VIEW | พลังของมุมมอง– เปลี่ยนกระบวนทัศน์เรื่องป๊อปคอร์น– โครงสร้างการปฏิวัติส่วนบุคคล– ออกแบบกรอบความคิดของเราใหม่– ปัญหาหมาและกระดูก– นักคณิตศาสตร์คิดอย่างไร– อิทธิพลวัฒนธรรม

บทที่ 6 THINKING WHEN YOU’RE NOT THINKING | คิดตอนที่ไม่ได้คิด– แผนสำรองของธรรมชาติ– พลังงานมืดของสมอง– มโหรีแห่งจิตว่าง– ฉลาดเพราะเชื่อมโยง– ความสำคัญของการใจลอย

บทที่ 7 THE ORIGIN OF INSIGHT | กำเนิดปัญญา– เมื่อสิ่งที่ไม่คาดคิดใช้ได้ผลชัดเจน– แยกสมองเป็นสองส่วน– ความเชื่อมโยงระหว่างภาษาและการแก้ปัญหา– ทดสอบสมองทั้งสองซีก– บทเรียน (ไม่) ไร้ค่า– แจกแจงโครงสร้างของกระบวนการสร้างปัญญา– เซนและศิลปะแห่งความคิด

PART IV: LIBERATING YOUR BRAINบทที่ 8 HOW THOUGHT FREEZES OVER | เหตุใดความคิดจึงฝังอยู่ลึก– สร้างชีวิตและที่วางเทียน– โมเมนตัมความคิด– เมื่อความคิดฝังอยู่ลึก– หลักนิยมที่บ่อนทำลาย– หยุดใช้งานสมองฝั่งเชี่ยวชาญไปก่อน– ประโยชน์ของการคิดต่าง

บทที่ 9 MENTAL BLOCKS AND IDEA FILTERS | ตัวปิดกั้นจิตใจและตัวกลั่นกรองความคิด– เมื่อการเชื่อเท่ากับการมองไม่เห็น– การคิดนอกกรอบ– ระบบการกลั่นกรองไอเดียของเรา– ขอให้วัยเด็กไม่สิ้นกลิ่นน้ำนมจงยืนยาว

บทที่ 10 THE GOOD, THE MAD, AND THE ODD | คนสติดี คนเพี้ยน และคนพิลึก– โลกอันฟั่นเฟือน– วัดระดับความเสียสติ– บุคลิกภาพอันยืดหยุ่น จากโลกศิลป์สู่โลกวิทย์– สองคนในร่างเดียว

บทที่ 11 LIBERATION | การปลดปล่อย– มาเมายากันดีกว่า– ในไวน์มีความจริง ในวอดก้าก็มีเหมือนกัน– เส้นบางๆ ของความเหนื่อยล้า– ไม่ต้องกังวล มีความสุขเข้าไว้– ที่ใดที่มีความมุ่งมั่น– การเอาตัวรอดของคนยืดหยุ่น

เลเนิร์ด มโลดินอฟ (Leonard Mlodinow) จะนำเราเข้าสู่การเดินทางอันน่าตื่นตาตื่นใจ เพื่อศึกษาหนึ่งในคุณลักษณะพิเศษที่ทำให้เผ่าพันธุ์มนุษย์อยู่รอดและวิวัฒนาการมายาวนานจนถึงปัจจุบัน

คุณลักษณะพิเศษที่ว่านั้น มโลดินอฟเรียกมันว่า วิชายืดหยุ่น’ หรือ Elastic Thinking

ทำอย่างไรให้สมองของเราโอบรับความเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมทำอย่างไรให้สมองเรียนรู้ที่จะสร้างสรรค์แนวคิดใหม่ๆ และเราจะบำรุงเลี้ยงกระบวนการสร้างสรรค์นั้นได้อย่างไรเพราะเหตุใดความแตกต่าง หรือกระทั่งความขัดแย้ง จึงมีประโยชน์ต่อกระบวนการคิดของเรา

เมอลอดิโนฟนำเสนอเรื่องราวและความรู้อย่างหลักแหลมและเปี่ยมอารมณ์ขัน เพื่อมอบเครื่องมือสำคัญให้กับผู้อ่าน ในการฝึกฝน ‘วิชายืดหยุ่น’ ศาสตร์สำคัญเพื่อเผชิญหน้ากับความเปลี่ยนแปลง ที่ทวีความรุนแรงและรวดเร็วยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ในยุคปัจจุบัน

บัดนี้ เวลาและสถานการณ์เช่นนั้น ได้เดินทางมาถึงเบื้องหน้าของเราแล้ว นี่จึงเป็นหนังสืออีกหนึ่งเล่มที่เราเชื่อว่า จะเป็นประโยชน์ในการอ่านเพื่อผ่านวิกฤติใหญ่ของสังคมไทย

.

“มโลดินอฟ ทำให้วิทยาศาสตร์เข้าถึงได้ง่ายและสนุกสนานเสมอ”— Stephen Hawking"จิตมนุษย์รับมือกับความเปลี่ยนแปลงอย่างไรหนังสือเล่มนี้อธิบายหนึ่งในหัวข้อสำคัญที่สุดที่มนุษย์ควรรู้อย่างถูกที่ถูกเวลาและน่าสนใจยิ่ง”— Charles Duhigg (ผู้เขียน The Power of Habit)

–––––––––––––––––––––––––ELASTIC CONTENTS–––––––––––––––––––––––––

FROM THE PUBLISHERคำนำสำนักพิมพ์……12

INTRODUCTION: บทนำ– ต้องการเปลี่ยนแปลง– เอาชนะพยาธิตัวกลม– จากนี้ไป

PART I: CONFRONTING CHANGEบทที่ 1 THE JOY OF CHANGE | ยินดีที่ได้เปลี่ยน– อันตรายและโอกาส 44– ความเชื่อเรื่องความกลัวการเปลี่ยนแปลง 50– ความต้องการออกสำรวจของเรา 55– งานวิจัยและพัฒนาส่วนบุคคลและระดับการชอบลองของใหม่ 60

PART II: CONFRONTING CHANGEบทที่ 2 WHAT IS THOUGHT | ความคิดคืออะไร– แอบดูในกะโหลก– อะไรมีคุณสมบัติเข้าข่ายความคิดบ้าง– มีสติรู้ตัว– กฎแห่งความคิด– สมองที่ยืดหยุ่นและไม่ได้คิดแบบอัลกอริทึม

บทที่ 3 WHY WE THINK | เราคิดทำไม– ปรารถนาและหลงใหล– เมื่อความคิดไม่ได้รับรางวัล– ทางเลือกท่วมท้น– ความรู้สึกดีเกิดขึ้นได้อย่างไร– รางวัลจากศิลปะ– อาการสมาธิสั้นและความคิดยืดหยุ่นที่เหลือใช้– ความสุขเมื่อคิดออก

บทที่ 4 THE WORLD INSIDE YOUR BRAIN | โลกในสมองของคุณ– สมองสร้างภาพแทนโลกอย่างไร– สมองสร้างความหมายอย่างไร– ความฉลาดแบบล่างขึ้นบนของมด– ลำดับชั้นในสมองของเรา– การผจญภัยทางปัญญา

PART III: WHERE NEW IDEAS COME FROMบทที่ 5 THE POWER OF YOUR POINT OF VIEW | พลังของมุมมอง– เปลี่ยนกระบวนทัศน์เรื่องป๊อปคอร์น– โครงสร้างการปฏิวัติส่วนบุคคล– ออกแบบกรอบความคิดของเราใหม่– ปัญหาหมาและกระดูก– นักคณิตศาสตร์คิดอย่างไร– อิทธิพลวัฒนธรรม

บทที่ 6 THINKING WHEN YOU’RE NOT THINKING | คิดตอนที่ไม่ได้คิด– แผนสำรองของธรรมชาติ– พลังงานมืดของสมอง– มโหรีแห่งจิตว่าง– ฉลาดเพราะเชื่อมโยง– ความสำคัญของการใจลอย

บทที่ 7 THE ORIGIN OF INSIGHT | กำเนิดปัญญา– เมื่อสิ่งที่ไม่คาดคิดใช้ได้ผลชัดเจน– แยกสมองเป็นสองส่วน– ความเชื่อมโยงระหว่างภาษาและการแก้ปัญหา– ทดสอบสมองทั้งสองซีก– บทเรียน (ไม่) ไร้ค่า– แจกแจงโครงสร้างของกระบวนการสร้างปัญญา– เซนและศิลปะแห่งความคิด

PART IV: LIBERATING YOUR BRAINบทที่ 8 HOW THOUGHT FREEZES OVER | เหตุใดความคิดจึงฝังอยู่ลึก– สร้างชีวิตและที่วางเทียน– โมเมนตัมความคิด– เมื่อความคิดฝังอยู่ลึก– หลักนิยมที่บ่อนทำลาย– หยุดใช้งานสมองฝั่งเชี่ยวชาญไปก่อน– ประโยชน์ของการคิดต่าง

บทที่ 9 MENTAL BLOCKS AND IDEA FILTERS | ตัวปิดกั้นจิตใจและตัวกลั่นกรองความคิด– เมื่อการเชื่อเท่ากับการมองไม่เห็น– การคิดนอกกรอบ– ระบบการกลั่นกรองไอเดียของเรา– ขอให้วัยเด็กไม่สิ้นกลิ่นน้ำนมจงยืนยาว

บทที่ 10 THE GOOD, THE MAD, AND THE ODD | คนสติดี คนเพี้ยน และคนพิลึก– โลกอันฟั่นเฟือน– วัดระดับความเสียสติ– บุคลิกภาพอันยืดหยุ่น จากโลกศิลป์สู่โลกวิทย์– สองคนในร่างเดียว

บทที่ 11 LIBERATION | การปลดปล่อย– มาเมายากันดีกว่า– ในไวน์มีความจริง ในวอดก้าก็มีเหมือนกัน– เส้นบางๆ ของความเหนื่อยล้า– ไม่ต้องกังวล มีความสุขเข้าไว้– ที่ใดที่มีความมุ่งมั่น– การเอาตัวรอดของคนยืดหยุ่น

คำที่เกี่ยวข้อง
ยืดหยุ่นไม้บรรทัดยืดหยุ่นสปริงยืดหยุ่นท่อยืดหยุ่นเชือกยืดหยุ่นหมูยืดหยุ่นยางยืดหยุ่นตาข่ายยืดหยุ่นกาวยืดหยุ่นของเล่นยืดหยุ่น

สินค้าใกล้เคียง