พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้าน
พระราชบัญญัติความปลอดภัย-อาชีวอนามัย-และสภาพแวดล้อมในการทำงาน-และพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้าน
ข้อมูลสินค้า
ราคา
90.00 70.00 บาท
แบรนด์
สูตรไพศาล
ร้านค้า

พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ และพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๓"ฉบับจับประเด็น"คำนำกฎหมายแรงงาน เป็นกลไกระบบให้การคุ้มครอง หลักประกันกำหนดหน้าที่ผู้ใช้แรงงาน นายจ้าง ผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงรัฐ ต่างมีบทบาทอำนาจและสิทธิที่บัญญัติโดยกฎหมายหลัก และขยายความโดยกฎหมายลูกอันมีกฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับเชื่อมโยงกฎหมาย กว่า 200 ฉบับ นับแต่ 7 ประมวลกฎหมาย อาทิ.- ป.แพ่ง มีจ้างแรงงาน - จ้างทำของ - นิติกรรมฯ ป.อาญา โกงค่าจ้าง - โกงนายจ้างฯ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับขึ้นกับสถานการณ์ เช่น พ.ร.บ.ประกอบฯ ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. และการได้มาซึ่ง ส.ว. 2550 - 2554 มาตรา 136 นายจ้างขัดขวาง หน่วงเหนี่ยวหรือไม่ให้ความสะดวกลูกจ้างไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ต้องโทษทั้งจำทั้งปรับฯ พ.ร.บ.ต่างๆ ที่ไม่คาดคิดเกินสามัญสำนึก ไม่ว่านายจ้าง ลูกจ้าง ผู้เกี่ยวข้องจะจริงใจถูกต้องเพียงใด หากเข้าองค์ประกอบกฎหมายไม่ว่าจะฝ่าฝืน หรือละเว้นไม่ปฏิบัติก็ต้องโทษอาญา ศึกษาป้องกันก่อนเป็นผู้ต้องหาหรือจำเลยได้ใน หลักกฎหมายแรงงานในบรรณาธิการ ให้รู้สิทธิประโยชน์ที่กฎหมายคุ้มครองท่าน จะว่ากฎหมายเอื้อประโยชน์ก็ใช่ผู้ประกอบการทุกธุรกรรมล้วนมีหลายกฎหมายเป็นเงาคอยปกป้องทั้งผู้ก่อการและผู้บริโภค รู้หลักกฎหมายจึงเป็นต่ออันได้ชื่อว่าเป็นพลเมืองดี

สารบัญ
๑. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔
หมวด ๑ บททั่วไป
หมวด ๒ การบริหาร การจัดการและการดำเนินการ
ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพ
แวดล้อมในการทำงาน
หมวด ๓ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
หมวด ๔ การควบคุม กำกับ ดูแล
หมวด ๕ พนักงานตรวจความปลอดภัย
หมวด ๖ กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
หมวด ๗ สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
หมวด ๘ บทกำหนดโทษ
บทเฉพาะกาล
อัตราค่าธรรมเนียม (ท้าย พ.ร.บ.) และหมายเหตุ
๒. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๓
๒.๑ ตัวบทกฎหมาย
๒.๒ บทคัดย่อ
- สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัตินี้
- ความเป็นมา
- บันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
๓. พระราชบัญญัติการกลับเป็นผู้ประกันตน พ.ศ.๒๕๕๔
๔. ผนวก (ปรับปรุงพระราชบัญญัติ)
๔.๑ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
- แก้ไข (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐
- ประกาศนายทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
(ที่ ๑/๒๕๕๓)
- ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ ๑๘๘)
๔.๒ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔

คำที่เกี่ยวข้อง
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยหนังสืออาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยเคล็ดลับและมารยาทในการทำงานโต๊ะทำงานและเก้าอี้มารยาทในการทำงานภาษา ใน การ ทำงานภาษาอังกฤษในการทำงานวิธีทำงานและสร้างอนาคตโต๊ะและเก้าอี้ทำงาน

สินค้าใกล้เคียง