รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 ปรับปรุง พ.ศ.2554
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย-2550-ปรับปรุง-พ-ศ-2554
ข้อมูลสินค้า
ราคา
150.00 130.00 บาท
แบรนด์
สูตรไพศาล
ร้านค้า

รัฐธรรมนูญ (ร.ธ.น.) (อังกฤษ: Constitution) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายดังนี้..

ในความหมายอย่างแคบ "รัฐธรรมนูญ" กฎหมายฉบับหนึ่งหรือหลายฉบับซึ่งรวบรวมกฎเกณฑ์การปกครองประเทศขึ้นไว้ และไม่ใช่สิ่งเดียวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ เพราะ "กฎหมายรัฐธรรมนูญ" มีความหมายกว้างกว่าและจะเป็นรูปแบบลายลักษณ์อักษรหรือจารีตประเพณีก็ได้

รัฐธรรมนูญในปัจจุบันนั้น มีทั้งเป็นลักษณะลายลักษณ์อักษร และลักษณะไม่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยที่ลักษณะไม่เป็นลายลักษณ์อักษร นอกจากจะใช้หลักของจารีต ประเพณีการปกครองแล้ว กฎหมายทุกตัวที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง ย่อมถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญด้วย

ทุกประเทศทั่วโลกมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ทั้งประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย รวมถึงประเทศที่ปกครองระบอบเผด็จการ เพื่อใช้เป็นหลักหรือเป็นแนวทางในการบริหารประเทศ

อนึ่งรัฐธรรมนูญหลายขึ้นก่อนกฎหมายอื่น ๆ แต่สำหรับประเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญอยู่บ่อยครั้ง กฎหมายอื่น ๆ จึงมีมาก่อนรัฐธรรมนูญ ดังนั้น การใช้ถ้อยคำที่ปรากฏในกฎหมายอื่นอยู่ก่อนแล้วในรัฐธรรมนูญจึงควรระมัดระวังว่าประสงค์จะให้มีความหมายอย่างเดียวกับที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้านี้

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
ปรับปรุง พ.ศ. 2554
มาตรา
หมวด ๑ บททั่วไป ๑ - ๗
หมวด ๒ พระมหากษัตริย์ ๘ - ๒๕
หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๒๖ - ๒๙
ส่วนที่ ๒ ความเสมอภาค ๓๐ - ๓๑
ส่วนที่ ๓ สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล ๓๒ - ๓๘
ส่วนที่ ๔ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม ๓๙ - ๔๐
ส่วนที่ ๕ สิทธิในทรัพย์สิน ๔๑ - ๔๒
ส่วนที่ ๖ สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ ๔๓ - ๔๔
ส่วนที่ ๗ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน ๔๕ - ๔๘
ส่วนที่ ๘ สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา ๔๙ - ๕๐
ส่วนที่ ๙ สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ ๕๑ - ๕๕
ส่วนที่ ๑๐ สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน ๕๖ - ๖๒
ส่วนที่ ๑๑ เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม ๖๓ - ๖๕
ส่วนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน ๖๖ - ๖๗
ส่วนที่ ๑๓ สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ๖๘ - ๖๙
หมวด ๔ หน้าที่ของชนชาวไทย ๗๐ - ๗๔
หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๗๕ - ๗๖
ส่วนที่ ๒ แนวนโยบายด้านความมั่นคงของรัฐ ๗๗
ส่วนที่ ๓ แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ๗๘
ส่วนที่ ๔ แนวนโยบายด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุขการศึกษา และวัฒนธรรม ๗๙ - ๘๐
ส่วนที่ ๕ แนวนโยบายด้านกฎหมายและการยุติธรรม ๘๑
ส่วนที่ ๖ แนวนโยบายด้านการต่างประเทศ ๘๒
ส่วนที่ ๗ แนวนโยบายด้านเศรษฐกิจ ๘๓ - ๘๔
ส่วนที่ ๘ แนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๘๕
ส่วนที่ ๙ แนวนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน ๘๖
ส่วนที่ ๑๐ แนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ๘๗
หมวด ๖ รัฐสภา
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๘๘ - ๙๒
ส่วนที่ ๒ สภาผู้แทนราษฎร ๙๓ - ๑๑๐
ส่วนที่ ๓ วุฒิสภา ๑๑๑ - ๑๒๑
ส่วนที่ ๔ บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง ๑๒๒ - ๑๓๕
ส่วนที่ ๕ การประชุมร่วมกันของรัฐสภา ๑๓๖ - ๑๓๗
ส่วนที่ ๖ การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ๑๓๘ - ๑๔๑
ส่วนที่ ๗ การตราพระราชบัญญัติ ๑๔๒ - ๑๕๓
ส่วนที่ ๘ การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ๑๕๔ - ๑๕๕
ส่วนที่ ๙ การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ๑๕๖ - ๑๖๒
หมวด ๗ การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน ๑๖๓ - ๑๖๕
หมวด ๘ การเงิน การคลัง และงบประมาณ ๑๖๖ - ๑๗๐
หมวด ๙ คณะรัฐมนตรี ๑๗๑ - ๑๙๖
หมวด ๑๐ ศาล
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๑๙๗ - ๒๐๓
ส่วนที่ ๒ ศาลรัฐธรรมนูญ ๒๐๔ - ๒๑๗
ส่วนที่ ๓ ศาลยุติธรรม ๒๑๘ - ๒๒๒
ส่วนที่ ๔ ศาลปกครอง ๒๒๓ - ๒๒๗
ส่วนที่ ๕ ศาลทหาร ๒๒๘
หมวด ๑๑ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
ส่วนที่ ๑ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
๑. คณะกรรมการการเลือกตั้ง ๒๒๙ - ๒๔๑
๒. ผู้ตรวจการแผ่นดิน ๒๔๒ - ๒๔๕
๓. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ๒๔๖ - ๒๕๑
๔. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๒๕๒ - ๒๕๔
ส่วนที่ ๒ องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ
๑. องค์กรอัยการ ๒๕๕
๒. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ๒๕๖ - ๒๕๗
๓. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๒๕๘
หมวด ๑๒ การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
ส่วนที่ ๑ การตรวจสอบทรัพย์สิน ๒๕๙ - ๒๖๔
ส่วนที่ ๒ การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ๒๖๕ - ๒๖๙
ส่วนที่ ๓ การถอดถอนจากตำแหน่ง ๒๗๐ - ๒๗๔
ส่วนที่ ๔ การดำเนินคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ๒๗๕ - ๒๗๘
หมวด ๑๓ จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ๒๗๙ - ๒๘๐
หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น ๒๘๑ - ๒๙๐
หมวด ๑๕ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ๒๙๑
บทเฉพาะกาล ๒๙๒ - ๓๐๙
องค์ความรู้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
ปรับปรุง พ.ศ. 2554
มาตรา
หมวด ๑ บททั่วไป ๑ - ๗
หมวด ๒ พระมหากษัตริย์ ๘ - ๒๕
หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๒๖ - ๒๙
ส่วนที่ ๒ ความเสมอภาค ๓๐ - ๓๑
ส่วนที่ ๓ สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล ๓๒ - ๓๘
ส่วนที่ ๔ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม ๓๙ - ๔๐
ส่วนที่ ๕ สิทธิในทรัพย์สิน ๔๑ - ๔๒
ส่วนที่ ๖ สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ ๔๓ - ๔๔
ส่วนที่ ๗ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน ๔๕ - ๔๘
ส่วนที่ ๘ สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา ๔๙ - ๕๐
ส่วนที่ ๙ สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ ๕๑ - ๕๕
ส่วนที่ ๑๐ สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน ๕๖ - ๖๒
ส่วนที่ ๑๑ เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม ๖๓ - ๖๕
ส่วนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน ๖๖ - ๖๗
ส่วนที่ ๑๓ สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ๖๘ - ๖๙
หมวด ๔ หน้าที่ของชนชาวไทย ๗๐ - ๗๔
หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๗๕ - ๗๖
ส่วนที่ ๒ แนวนโยบายด้านความมั่นคงของรัฐ ๗๗
ส่วนที่ ๓ แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ๗๘
ส่วนที่ ๔ แนวนโยบายด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุขการศึกษา และวัฒนธรรม ๗๙ - ๘๐
ส่วนที่ ๕ แนวนโยบายด้านกฎหมายและการยุติธรรม ๘๑
ส่วนที่ ๖ แนวนโยบายด้านการต่างประเทศ ๘๒
ส่วนที่ ๗ แนวนโยบายด้านเศรษฐกิจ ๘๓ - ๘๔
ส่วนที่ ๘ แนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๘๕
ส่วนที่ ๙ แนวนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน ๘๖
ส่วนที่ ๑๐ แนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ๘๗
หมวด ๖ รัฐสภา
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๘๘ - ๙๒
ส่วนที่ ๒ สภาผู้แทนราษฎร ๙๓ - ๑๑๐
ส่วนที่ ๓ วุฒิสภา ๑๑๑ - ๑๒๑
ส่วนที่ ๔ บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง ๑๒๒ - ๑๓๕
ส่วนที่ ๕ การประชุมร่วมกันของรัฐสภา ๑๓๖ - ๑๓๗
ส่วนที่ ๖ การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ๑๓๘ - ๑๔๑
ส่วนที่ ๗ การตราพระราชบัญญัติ ๑๔๒ - ๑๕๓
ส่วนที่ ๘ การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ๑๕๔ - ๑๕๕
ส่วนที่ ๙ การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ๑๕๖ - ๑๖๒
หมวด ๗ การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน ๑๖๓ - ๑๖๕
หมวด ๘ การเงิน การคลัง และงบประมาณ ๑๖๖ - ๑๗๐
หมวด ๙ คณะรัฐมนตรี ๑๗๑ - ๑๙๖
หมวด ๑๐ ศาล
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ๑๙๗ - ๒๐๓
ส่วนที่ ๒ ศาลรัฐธรรมนูญ ๒๐๔ - ๒๑๗
ส่วนที่ ๓ ศาลยุติธรรม ๒๑๘ - ๒๒๒
ส่วนที่ ๔ ศาลปกครอง ๒๒๓ - ๒๒๗
ส่วนที่ ๕ ศาลทหาร ๒๒๘
หมวด ๑๑ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
ส่วนที่ ๑ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
๑. คณะกรรมการการเลือกตั้ง ๒๒๙ - ๒๔๑
๒. ผู้ตรวจการแผ่นดิน ๒๔๒ - ๒๔๕
๓. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ๒๔๖ - ๒๕๑
๔. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๒๕๒ - ๒๕๔
ส่วนที่ ๒ องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ
๑. องค์กรอัยการ ๒๕๕
๒. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ๒๕๖ - ๒๕๗
๓. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๒๕๘
หมวด ๑๒ การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
ส่วนที่ ๑ การตรวจสอบทรัพย์สิน ๒๕๙ - ๒๖๔
ส่วนที่ ๒ การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ๒๖๕ - ๒๖๙
ส่วนที่ ๓ การถอดถอนจากตำแหน่ง ๒๗๐ - ๒๗๔
ส่วนที่ ๔ การดำเนินคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ๒๗๕ - ๒๗๘
หมวด ๑๓ จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ๒๗๙ - ๒๘๐
หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น ๒๘๑ - ๒๙๐
หมวด ๑๕ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ๒๙๑
บทเฉพาะกาล ๒๙๒ - ๓๐๙
องค์ความรู้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

คำที่เกี่ยวข้อง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540อัศวินแห่งเจ็ดราชอาณาจักรสามราชอาณาจักรหนังสือราชอาณาจักรสยามอาณาจักรแห่งกาลเวลาพ ศศริราชกฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองของสหราชอาณาจักร

สินค้าใกล้เคียง