การดำเนินคดีแบบกลุ่ม Class Action และการนำรูปแบบการดำเนินคดีแบบกลุ่มมาใช้ในคดีสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
การดำเนินคดีแบบกลุ่ม-class-action-และการนำรูปแบบการดำเนินคดีแบบกลุ่มมาใช้ในคดีสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
ข้อมูลสินค้า
ราคา
189.00 179.00 บาท
รีวิว
1 ครั้ง
แบรนด์
สูตรไพศาล
ร้านค้า

การดำเนินคดีแบบกลุ่ม Class Action และการนำรูปแบบการดำเนินคดีแบบกลุ่มมาใช้ในคดีสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย

คำนำ

การดำเนินคดีแบบกลุ่ม (Class Action) เป็นรูปแบบการบริหารจัดการคดีที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในประเทศสหรัฐอเมริกาสามารถใช้ระงับข้อพิพาทในทางแพ่งที่มีผู้ได้รับความเสียหายจำนวนมากจากสาเหตุเดียวกันได้อย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากพยานหลักฐานที่จะใช้ในการดำเนินคดีสำหรับผู้ได้รับความเสียหายทุกคน

เป็นพยานหลักฐานอย่างเดียวกันการดำเนินคดีแบบกลุ่มจะสามารถระงับข้อพิพาทของผู้เสียหายทุกคนได้ไปในคราวเดียวกันอย่างรวดเร็ว ขณะนี้ได้มีการเพื่อแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งเพื่อนำรูปแบบการดำเนินคดีแบบกลุ่มมาใช้ในประเทศไทย
ผู้เขียนจึงได้นำร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง พ.ศ. ...มาไว้ในภาคผนวกด้วย หวังว่าหนังสือเล่มนี้จะช่วยให้ท่านผู้อ่านเข้าใจการดำเนินคดีแบบกลุ่มเป็นอย่างดี

อ.น้ำแท้ มีบุญสล้าง

ISBN 9789745208766

สารบัญ

บทที่ 1แนวคิดการดำเนินคดีแบบกลุ่ม (Class Action) ในต่างประเทศ

1.1 การดำเนินคดีแบบกลุ่มในประเทศสหรัฐอเมริกา (Common Law)

1.2 การดำเนินคดีแบบกลุ่มในกลุ่มประเทศยุโรป (Civil Law)

1.3 การดำเนินคดีแบบกลุ่มในประเทศอินโดนีเซีย

1.4 การดำเนินคดีแบบกลุ่มในประเทศบราซิล

บทที่ 2 ทฤษฎีและแนวความคิดเกี่ยวกับการดำเนินคดีสิ่งแวดล้อม

2.1 การนำรูปแบบการดำเนินคดีแบบกลุ่มมาใช้ในคดีสิ่งแวดล้อม

2.2 ปัญหาและอุปสรรคในการนำกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้ในคดีสิ่งแวดล้อม

2.3 แนวความคิดเรื่องสิทธิในสิ่งแวดล้อม

2.4 แนวคิดเรื่องสิทธิของธรรมชาติ (Rights of Nature)

2.5 สิทธิในสิ่งแวดล้อมของคนรุ่นอนาคต

2.6 หลักการผู้ก่อให้เกิดมลภาวะเป็นผู้จ่าย (Polluter Pays Principle)

2.7 หลักการป้องกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

1. การกระทำโดยป้องกัน ตามมาตรา 449

2. การป้องกันสาธารณภัยและภยันตรายต่อเอกชนตามมาตรา 450

3. การใช้กำลังเพื่อป้องกันสิทธิตามมาตรา 451

2.8 หลักการป้องกันสิ่งแวดล้อมตามประมวลกฎหมายอาญา

2.9 ทฤษฎีการใช้สิทธิทางศาล

2.10 ทฤษฎีการใช้สิทธิทางศาลในคดีแพ่ง

2.11 การใช้สิทธิทางศาลในคดีปกครอง

2.12 การใช้สิทธิตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

2.13 ค่าเสียหายในเชิงลงโทษ (Punitive Damages)

บทที่ 3 ความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบการดำเนินคดีแบบกลุ่ม (Class Action) มาใช้ในคดีสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย

3.1 ผู้แทนคดี

3.2 ผู้เสียหาย

3.3 การพิสูจน์ความเสียหายและค่าเสียหาย

3.4 ผลผูกพันของคำพิพากษา

3.5 การคิดค่าทนายความและค่าธรรมเนียมศาล

3.6 กฎหมายที่ใช้ในการดำเนินคดีแบบกลุ่มในคดีสิ่งแวดล้อม

3.7 การเยียวยาสิทธิ

3.8 สรุปและเสนอแนะ

รายการอ้างอิง

ภาคผนวก

-The Rio DeclarationonEnvironment and Development(1992)

-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมพ.ศ. 2550

-ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง(ฉบับที่....)พ.ศ. ....

คำที่เกี่ยวข้อง
ศาลปกครองและการดำเนินคดีในศาลปกครองศาลปกครองและการดำเนินคดีพวงกุญแจแบบกลุ่มการบริหารกลุ่มหลักทรัพย์ยุโรปและอเมริกาออกแบบเฉพาะกลุ่ม totการออกแบบและเทคโนโลยีปลั๊กไฟฟ้า ออสเตรเลีย ใช้ในประเทศไทยยุโรปและอเมริกาออกแบบเฉพาะกลุ่ม tot กระเป๋าการออกแบบการวิจัยการวิเคราะห์และออกแบบระบบ

สินค้าใกล้เคียง