ของเล่น ตัวต่อ ของสะสม Little Pony จำนวน 1,836 ชิ้น พร้อมคู่มือการประกอบ - BOLODY 16025
ของเล่น-ตัวต่อ-ของสะสม-little-pony-จำนวน-1-836-ชิ้น-พร้อมคู่มือการประกอบ-bolody-16025
ข้อมูลสินค้า
ราคา
650.00 359.00 บาท
แบรนด์
BALODY
ร้านค้า
  • ออกแบบมาเพื่อกระตุ้นจิตนาการ พัฒนาทักษะ สร้างสมาธิ พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก
  • สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว ใช้เวลาว่างร่วมกันทำกิจกรรม
  • วัสดุใช้เกรดพิเศษ สีสรรสวยงาม เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เหมาะสำหรับเป็นของสะสม
  • ในกล่องมีคู่มือ ต่อได้ไม่ยาก
  • สินค้ามาตราฐาน มอก. 685-2540
  • ราคาย่อมเยาว์
  • ออกแบบมาเพื่อกระตุ้นจิตนาการ พัฒนาทักษะ สร้างสมาธิ พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก
  • สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว ใช้เวลาว่างร่วมกันทำกิจกรรม
  • วัสดุใช้เกรดพิเศษ สีสรรสวยงาม เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เหมาะสำหรับเป็นของสะสม
  • ในกล่องมีคู่มือ ต่อได้ไม่ยาก
  • สินค้ามาตราฐาน มอก. 685-2540
  • ราคาย่อมเยาว์

คำแนะนำ : เหมะสำหรับเด็กอายุ 6 ขวบขึ้นไป

คำเตือน : สินค้ามีชิ้นส่วนขนาดเล็ก ห้ามให้เด็กอายุต่ำกว่า 3 ขวบ และห้ามนำเข้าปาก

ประวัติ my little pony

อดีตมายลิตเติ้ลโพนี่ ไม่ใช่การ์ตูนดังในปัจจุบัน แต่เป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์ของเล่น ของบริษัท Harbro inc. ออกจำหน่ายครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในช่วงนั้น ต่อมาได้สร้างเป็นการ์ตูนแอนิเมชั่นออกอากาศเป็นตอนพิเศษเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) โดยมีรุ่นของการ์ตูนแบ่งเป็น 4 รุ่น

รุ่น G1 (พ.ศ. 2524 - พ.ศ. 2535)

ในรุ่นแรก Hasbro เริ่มออกอากาศ การ์ตูนแอนิเมชั่นเป็นครั้งแรก เป็นตอนพิเศษออกอากาศทางโทรทัศน์ซึ่งได้รับความนิยม และ Hasbro ก็ได้สร้างภาพยนตร์แอนิเมชั่นในชื่อเรื่อง My little pony: The Movie เพื่อตอบสนองความนิยม แต่ภาพยนตร์ก็มิได้ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร (ว่ากันว่าใช้ทุนสร้าง 10 ล้านเหรียญ แต่รายได้ไม่ถึง 6 ล้านเหรียญ) และถูกวิจารณ์อย่างย่อยยับ โดยมีข้อวิจารณ์ว่า ในปีต่อมา มายลิตเติ้ลโพนี่ ได้เริ่มออกอากาศในรูปแบบซีรีส์ ในชื่อ My little pony n Friend เป็นการ์ตูนในประเภทแอ็คชั่น-แฟนตาซี ซึ่งจะเน้นกลุ่มเด็กเล็กเป็นหลัก และประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ซึ่งมีเด็กผู้ชายที่ชื่นชอบการ์ตูนเรื่องนี้ด้วย

ในอีก 5 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1995) มายลิตเติ้ลโพนี่กลับมาออกอากาศอีกครั้งในรูปแบบใหม่ ทั้งตัวละคร และเนื้อเรื่องในชื่อเรื่อง My little pony Tales ซึ่งได้นำสิ่งที่ได้รับความนิยมในช่วงนั้นมาใส่เป็นองค์ประกอบในเนื้อเรื่อง เช่น "การใส่ปลอกขา" "การทำผม" รวมทั้งตัวละครในเรื่องมีรูปแบบการใช้ชีวิตแบบยุค 90 เป็นการ์ตูนในประเภทชีวิตประจำวัน ซึ่งจะเน้นกลุ่มเด็กหญิงและเด็กโตเป็นหลัก แต่ซีรีส์นี้ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร และยุติออกอากาศในปีเดียวกัน[2]

รุ่น G2 (พ.ศ. 2540 - พ.ศ. 2546)

ในรุ่นนี้ Harbro ได้ยุติการทำแอนิเมชั่น และหันไปจำหน่ายของเล่นแทน ซึ่งก็ประสบความสำเร็จอยู่พอสมควร และของเล่นมีการพัฒนาไปเรื่อยๆตามลำดับ[3]

รุ่น G3-3.5 (พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2553)

ในปี พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) Hasbro ได้กลับมาทำแอนิเมชั่นการ์ตูนมายลิตเติ้ลโพนี่อีกครั้ง โดยได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบต่างๆทั้งหมด โดยออกแนวแฟนตาซีเป็นหลัก เนื้อเรื่องเป็นแนวจินตนิมิต เน้นไปยังกลุ่มเด็กเล็กเป็นหลัก และเน้นทำลงสื่อวิดิทัศน์ และน้อยตอนนักที่จะเอาออกอากาศ ซึ่งเนื้อเรื่องขาดความน่าสนใจ แอนิเมชั่นไร้แรงดึงดูด และความนิยมตกต่ำถึงขีดสุด นับได้ว่ารุ่นนี้เป็นรุ่นตกต่ำที่สุดของมายลิตเติ้ลโพนี่เลยก็ว่าได้ และทุกคนเห็นว่าสร้างขึ้นมาเพื่อโปรโมตของเล่นไปเท่านั้น[4]

รุ่น G4 (พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน)

ในปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) Hasbro เริ่มกอบกู้ชื่อเสียงของมายลิตเติ้ลโพนี่อีกครั้ง ซึ่งมี Lauren Faust เป็นผู้สร้างการ์ตูนในรุ่นนี้ ซึ่งเธอเป็นเบื้องหลังการ์ตูนที่ประสบความสำเร็จเรื่อง พาวเวอร์พัฟฟ์เกิลส์ และ ฟอสเตอร์ โฮม..บ้านของผองเพื่อนในจินตนาการ โดยเปลี่ยนรูปแบบการ์ตูนทั้งหมด โดย Lauren เป็นผู้ควบคุมงานทั้งหมด และ Hasbro ได้ร่วมมือกับบริษัท DHX (อดีตชื่อ Studio B) ในการผลิต ซึ่งในการทำการ์ตูนรุ่นนี้ได้มีบุคคลสำคัญทางวงการการ์ตูนต่างๆ มาให้ความร่วมมือเป็นจำนวนมาก โดยเนื้อเรื่องในการ์ตูนรุ่นนี้ถือว่าแตกต่างจากรุ่นอื่นๆ คือ ดูไม่ซ้ำซาก มีความเหมาะสมกับทุกเพศทุกวัย และไม่ให้ดูเป็นการโฆษณาของเล่นมากเกินไป รวมทั้งมีการเพิ่มเพลงประกอบซึ่งเป็นอีกหนึ่งในความสำเร็จ การแฝงมุขตลกเชิงล้อเลียน และการเข้มงวดในการจัดหานักพากษ์ เพื่อให้เพิ่มแรงดึงดูดด้วย

โดยการออกอากาศได้เริ่มการออกอากาศในช่อง Hub Network เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ในชื่อ My Little Pony: Friendship is Magic (มายลิตเติ้ลโพนี่ มิตรภาพอันแสนวิเศษ) โดยในช่วงโฆษณาๆแรก ก็ไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร แต่ภายหลังการออกอากาศก็ได้มีคำวิจารณ์ออกเป็นหลายแขนง ส่วนใหญ่เน้นจะชื่นชมว่า ซึ่งการ์ตูนเรื่องนี้ก็กลายเป็นกระแสในเวลาต่อมา และสร้างความเปลี่ยนแปลงในวงการแฟนการ์ตูน เนื่องจากการ์ตูนเรื่องนี้มีผู้ชายจำนวนมาก ส่วนใหญ่อยู่ในวัยรุ่นถึงวัยผู้ใหญ่ ซึ่งต่อมาได้รวมกลุ่มกันและเรียกตนเองว่า โบรนี่ (Brony) เป็นกลุ่มผู้ชายที่มักทำกิจกรรมเกี่ยวกับมายลิตเติ้ลโพนี่ เช่น การแต่งตัว ทำแฟนอาร์ต และจัดกิจกรรมต่างๆ ซึ่งทำให้การ์ตูนประสบความสำเร็จอย่างมากจนถึงปัจจุบัน

คำที่เกี่ยวข้อง
ตัวต่อของสะสมของเล่นตัวต่อชิ้นใหญ่คู่มือเทคนิคการประกอบแบบจำลองของเล่นบล็อกตัวต่อของเค้กคู่มือการเอาตัวรอดของนักกินตัวต่อของเล่นเด็กชิ้นใหญ่ตัวต่อ ชิ้น ใหญ่ ของเล่น เด็กของเล่นเด็กตัวต่อชิ้นใหญ่ของเล่นของสะสมของเล่น ของสะสม

สินค้าใกล้เคียง