(A1 ชาร์จไฟได้)(แถมนาฬิกาL7Bฟรี) เครื่องช่วยฟัง คล้องหู แขวนหลังหู | อุปกรณ์เครื่องช่วยฟังคนหูหนวกหูตึง
ข้อมูลสินค้า
ราคา
620.00 310.00 บาท
ขายแล้ว
471 ชิ้น
ร้านค้า
#เครื่องช่วยฟัง BTE รุ่นรุ่นคล้องหลังหู (ชาร์จไฟได้ ไม่ใช้ถ่าน)
| อุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง เครื่องช่วยฟังเสียงคนหูหนวก ช่วยฟังคนหูตึง
Hearing Aid Device : เครื่องช่วยฟัง เครื่องช่วยฟังคนหูตึง เครื่องช่วยการได้ยินเสียงแบบคล้องหลังหู
ศูนย์จำหน่ายเครื่องช่วยฟัง เครื่องช่วยการได้ยินเสียง เครื่องช่วยฟังคนหูหนวก คนหูตึง ราคาพิเศษ ซื้อได้ในราคาถูก พร้อมจำหน่ายถ่านเครื่องช่วยฟัง แบตเตอรี่เครื่องช่วยฟังสำหรับผู้สูงอายุ ถ่านเครื่องช่วยฟังขนาดเล็ก ถ่านเครื่องช่วยฟังคนหูหนวก คนหูตึง (Hearing Aid Battery)
เครื่องช่วยฟัง เครื่องช่วยการได้ยินเสียง BTE รุ่น เครื่องช่วยฟัง เครื่องช่วยการได้ยินคล้องหลังหู (แบบชาร์จไฟได้ ไม่ใช้ถ่าน) ช่วยการได้ยินครอบคลุมทุกระดับการเสื่อมสภาพสูญเสียการได้ยินเสียง ตั้งแต่ระดับหูตึงน้อย หูตึงปานกลาง หูตึงมาก และหูตึงรุนแรง โดยมีีรูปแบบการใช้งานของเครื่องช่วยฟังแต่ละรุ่นสอดคล้องกับความต้องการใช้งานของแต่ละบุคคล
รายละเอียดสินค้า เครื่องช่วยฟัง เครื่องช่วยการได้ยินเสียง BTE รุ่น รุ่นคล้องหลังหู
การใช้งานกับผู้สูญเสียหรือมีปัญหาการได้ยิน : สูญเสียการได้ยิน ระดับเริ่มต้น - รุนแรง
รายละเอียดและคุณสมบัติการใช้งาน
ฟังชั่นการใช้งาน : ปุ่มเปิด/ปิด, ปุ่มปรับเสียง สามารถปรับระดับความดังได้
ขนาดเครื่อง : 50x48x8.6 mm
น้ำหนักเครื่อง : 9 กรัม
อัตราการขยายเสียงสูงสุด (เสียงดังสูงสุด) : 130dB ± 5dB
อัตราการได้รับเสียง : 38dB ± 5dB
อัตราการแปลงเสียง (ความเพี้ยนโดยรวมของสัญญาณ) : <= 5%
ช่วงความถี่ : 300-4000 Hz
อัตราการรับเสียง (เสียงแทรกซ้อน) : <= 30 dB
แรงดันไฟฟ้า : D.C. 3.7 V
กระแสไฟฟ้า : <= 4mA
การชาร์จไฟ การใช้ถ่าน
• สามารถชาร์จไฟได้ ไม่สามารถใช้ถ่านได้
อุปกรณ์ภายในกล่อง
เครื่องชาร์จ DC 5V/50mA-500mA
แบตเตอรี่ Lithium batterry,55mAh
เครื่องช่วยฟัง BTE รุ่น
จุกยาง 4 ขนาด
คู่มือ
กล่องสำหรับเก็บเครื่องช่วยฟัง
การรับประกันสินค้า
1
• หากสินค้ามีปัญหา สามารถเปลี่ยนใหม่ได้ภายใน 7 วันนับจากได้รับสินค้า
ข้อแนะนำเพิ่มเติม สำหรับหลักการเลือกใช้เครื่องช่วยฟัง
ในการเลือกเครื่องช่วยฟังนั้น สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงเสมอ ก็คือ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ความสามารถในการได้ยินที่เหลืออยู่ (residual hearing) ให้เกิดประโยชน์และได้ผลมากที่สุด อีกทั้งยังควรเป็นเครื่องที่มีเสียงรบกวนน้อยที่สุด ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ใช้ ฟังคำพูดได้อย่างเข้าใจมากขึ้นและ มีความเพี้ยนของเสียงที่ได้ยินลดลง
เหตุผลของการเลือกและทดลองใช้เครื่องช่วยฟัง
เครื่องช่วยฟังแต่ละประเภท ต่างก็มีคุณสมบัติและประสิทธิภาพแตกต่างกัน ผู้ใช้ต้องเลือกสิ่งที่เหมาะกับตัวเองมากที่สุด
เพราะระดับความรุนแรงการสูญเสียการได้ยินของแต่ละคนไม่เท่ากัน รวมถึงปฏิกิริยาระหว่างผู้ใช้กับเครื่องช่วยฟังที่มีความแตกต่างกันในเรื่องของลักษณะทางกายวิภาค หรือ Anatomy ของหู และ Canal resonance
จำเป็นต้องมีการปรับแต่งเสียงให้เหมาะกับระดับการได้ยิน และความต้องการของผู้ใช้แต่ละคนจะมีความแตกต่างกันออกไป
หลักในการเลือกเครื่องช่วยฟังที่สำคัญ
1. เลือกจากงบประมาณที่มีอยู่ และสิ่งที่ควรทราบคือ เครื่องช่วยฟัง ยิ่งมีขนาดเล็ก คุณภาพเสียงดีก็ยิ่งมีราคาสูงมากขึ้น
2. ประเภทของเครื่องช่วยฟัง เนื่องจากในปัจจุบันเครื่องช่วยฟังมีให้เลือกหลายประเภท เช่น แบบกล่อง แบบทัดหลังหู หรือ แบบใส่ในช่องหู ซึ่งแต่ละประเภทก็จะมีข้อดี ข้อเสีย รวมทั้งความเหมาะสมกับผู้ใช้แต่ละคนที่แตกต่างกันไป
3. เลือกจากคุณภาพเสียง ซึ่งมีทั้งแบบอนาล็อก(Analog) และแบบดิจิตอล (Digital)
แบบอนาล็อก ลักษณะเป็นระบบการขยายเสียงแบบมาตรฐานทั่วไป นั่นคือ ขยายทุกเสียงที่ผ่านเข้ามา จึงมีโอกาสจะก่อให้เกิดความรำคาญสำหรับผู้ที่ใช้งานได้ในบางครั้ง
แบบดิจิตอล เป็นการพัฒนาการเครื่องช่วยฟังขึ้นมาอีกระดับ คือ สามารถขยายเสียงพูดได้ชัดเจน ลดเสียงรบกวนได้มาก และสามารถปรับแต่งเสียงได้ตามความต้องการ
4. เลือกจาก กำลังขยาย ไม่ว่าจะเป็นเครื่องช่วยฟังระบบใดก็ตาม ควรเลือกประเภทที่มีกำลังขยายเพียงพอกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด